UN ประณามไทย จับ ‘นักโทษประชามติ’

กระทู้ใน 'สภากาแฟ' โดย นายพลตัดแปะ, 26 Jul 2016

  1. นายพลตัดแปะ

    นายพลตัดแปะ อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    18 Jul 2015
    คะแนนถูกใจ:
    81
    ผู้รายงานพิเศษสหประชาชาติออกแถลงการณ์ที่นครเจนีวา ประณามไทยจับกุมประชาชนกว่า 80 คน จี้รัฐบาลยุติบังคับใช้กฎหมายประชามติ ยกเลิกทุกข้อกล่าวหา พร้อมเปิดเวทีดีเบตร่างรัฐธรรมนูญ



    ในวันอังคารที่ 26 กรกฎาคม เว็บไซต์ของสำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งประชาชาติ ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เผยแพร่ถ้อยแถลงของผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก เดวิด คาย เรียกร้องรัฐบาลไทยเปิดกว้างให้มีการโต้อภิปรายโดยเสรีก่อนการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ



    1164561.jpg



    แถลงการณ์ระบุว่า ผู้รายงานพิเศษฯประณามกรณีรัฐบาลไทยสอบสวน จับกุม หรือตั้งข้อหาผิดกฎหมายประชามติต่อประชาชนอย่างน้อย 86 คนหลังจากคนเหล่านี้แสดงออกในที่สาธารณะหรือผ่านทางโซเชียลมีเดีย รณรงค์ให้สาธารณชนไม่รับร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 7 สิงหาคม



    “ผมวิตกกังวลอย่างยิ่งที่คำสั่งของคณะทหารและกฎหมายประชามติปิดกั้นการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ” คายกล่าว



    “การจัดออกเสียงประชามติจะต้องเปิดให้ดีเบตอย่างเต็มที่ จากนั้นจึงให้ประชาชนโหวต โดยเฉพาะในกรณีเรื่องสำคัญๆ ควรกระตุ้นให้สาธารณชนอภิปรายความคิดเห็นต่างๆ แสดงออกโดยเสรี และโต้เถียงกันอย่างจริงจัง”



    “แทนที่จะเอาผิดทางอาญาต่อคนที่แสดงออกในเรื่องร่างรัฐธรรมนูญ รัฐบาลไทยควรสนับสนุนให้เกิดบรรยากาศเปิดกว้างสำหรับการโต้แย้ง เพื่อประกันว่าประชาชนจะมีส่วนร่วมในการออกเสียงประชามติโดยมีข้อมูลพร้อมอยู่ในมือ”



    1164567.jpg



    ผู้รายงานพิเศษของสหประชาชาติ กล่าวอีกว่า ทุกคนต้องมีสิทธิที่จะยึดถือความคิดเห็นของตนโดยไม่ถูกแทรกแซง ตนขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทยหยุดใช้กฎหมายประชามติ มาตรา 61 ซึ่งกำหนดโทษจำคุกผู้ละเมิดเป็นเวลานานถึง 10 ปี และขอให้ยกเลิกข้อหาตามกฎหมายดังกล่าวและตามคำสั่งของคณะทหารทั้งหมด รวมทั้งขอให้เคารพพันธกรณีของตนภายใต้กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง



    ทั้งนี้ ข้อเรียกร้องดังกล่าวได้รับความเห็นพ้องจากผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและการสมาคม ไมนา คาย , ผู้รายงานพิเศษด้านสถานการณ์ของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน มิเชล ฟอร์สต์ และคณะทำงานด้านการกักขังตามอำเภอใจของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ.



    Source: UN Office of the High Commissioner for Human Rights

    Photo: AFP
     
  2. Tohchida

    Tohchida อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    371
    David Kaye _คือใครครับพี่..... ลองหาดูในเนทแล้ว ประมาณอาชีพนักแสดงนักพากย์ ประมาณนั้น แล้วขอความรู้หน่อยครับ ผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการแสดงออก.... เขาแสดงออกในนาม UN หรือส่วนตัวครับ:*:*:*:*:*:*:*
     
  3. นายพลตัดแปะ

    นายพลตัดแปะ อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    18 Jul 2015
    คะแนนถูกใจ:
    81
    UN Expert urges Thailand to ensure free debate ahead of the constitutional referendum
    http://ohchr.org/EN/NewsEvents/Pages/DisplayNews.aspx?NewsID=20302&LangID=E


    GENEVA (26 July 2016) – The United Nations Special Rapporteur on freedom of opinion and expression, David Kaye, today condemned the alarmingly high number of arrests and charges over public and social media expression brought under military orders and the Constitutional Referendum Act in Thailand. The Act, adopted ahead of the constitutional referendum scheduled for 7 August, criminalises expression and access to information about the draft constitution.

    Since June this year, it is reported that at least 86 people have been investigated or charged under the government clampdown on dissenting voices ahead of the 7 August vote. Earlier this month, several activists were charged under the Constitutional Referendum Act for a campaign urging voters to reject the draft constitution. A journalist covering the campaign was also arrested and charged with violating the Act. Violation of the Act carries a penalty of up to 10 years imprisonment, heavy fines and the loss of voting rights for 10 years [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    “I am seriously concerned that military orders and the Constitutional Referendum Act restrict expression and access to information about the draft constitution,” Mr. Kaye said. “The idea of a referendum is to allow for full debate followed by public vote, and particularly where the subject is of extraordinary public interest, a wide range of opinions should be encouraged, freely expressed, and open to rigorous debate.”

    “Instead of criminalizing expression on the draft constitution, the Thai government should encourage an open environment for public discourse to ensure an informed participation during the constitutional referendum”, the expert advised.

    Article 61 of the 2016 Referendum Act, which governs the referendum process, criminalizes ‘anyone who disseminates text, pictures or sounds that are inconsistent with the truth or in a violent, aggressive, rude, inciting or threatening manner aimed at preventing a voter from casting a ballot or vote in any direction or to not vote’.

    “Everyone must have the right to hold opinions without interference,” said the UN Special Rapporteur, while urging the Thai Government to halt the enforcement of the Constitutional Referendum Act, to drop all charges under the Act and related military orders, and to uphold its international obligation to safeguard the broad and expansive right to freedom of expression guaranteed to everyone under article 19 of the International Covenant on Civil and Political Rights.

    Mr. Kaye’s call has been endorsed by the UN Special Rapporteur on the rights to freedom of peaceful assembly and of association, Maina Kiai; the Special Rapporteur on the situation of human rights defenders, Michel Forst; and the Working Group on Arbitrary Detention.

    David Kaye (USA) was appointed as Special Rapporteur on the promotion and protection of the right to freedom of opinion and expression in August 2014 by the United Nations Human Rights Council. Learn more, log on to: http://www.ohchr.org/EN/Issues/FreedomOpinion/Pages/OpinionIndex.aspx

    The Special Rapporteurs and Working Groups are part of what is known as the Special Procedures of the Human Rights Council. Special Procedures, the largest body of independent experts in the UN Human Rights system, is the general name of the Council’s independent fact-finding and monitoring mechanisms that address either specific country situations or thematic issues in all parts of the world. Special Procedures’ experts work on a voluntary basis; they are not UN staff and do not receive a salary for their work. They are independent from any government or organization and serve in their individual capacity.

    UN Human Rights, country page – Thailand: http://www.ohchr.org/EN/Countries/AsiaRegion/Pages/THIndex.aspx

    For more information and media requests, please contact Marcelo Daher (+41 22 917 9431 / mdaher@ohchr.org), Azin Tadjdini (+41 22 917 9400 / atadjdini@ohchr.org) or write to freedex@ohchr.org.

    For media inquiries related to other UN independent experts:
    Xabier Celaya, UN Human Rights – Media Unit (+ 41 22 917 9383 / xcelaya@ohchr.org)

    For your news websites and social media: Multimedia content & key messages relating to our news releases are available on UN Human Rights social media channels, listed below. Please tag us using the proper handles:
    Twitter: @UNHumanRights
    Facebook: unitednationshumanrights
    Instagram: unitednationshumanrights
    Google+: unitednationshumanrights

    - See more at: http://ohchr.org/EN/NewsEvents/Pages/DisplayNews.aspx?NewsID=20302&LangID=E#sthash.rILBEwDu.dpuf
     
  4. Tohchida

    Tohchida อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    371
    ข้าน้อยด้อยปัญญาแปลครับ รบกวนแปลให้ด้วยได้ไหมครับ ..... ปล.เอากูเกิ้ลแปลไม่เอานะครับ อ่านแล้วมั่วๆครับ
    :makeup::makeup::makeup::makeup::makeup::makeup::makeup:
     
    apollo และ Alamos ถูกใจ.
  5. Tohchida

    Tohchida อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    371
    เขาแสดงออกในนาม UN หรือส่วนตัวครับ..... โทดทีครับ ช่วยตอบหน่อยครับ:*:*:*:*:*:*
     
  6. นิติรั่ว

    นิติรั่ว อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    24 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    1,875
    ทักษิณบอกunไม่ใช่พ่อ
     
    apollo, อู๋ คาลบี้ และ Tohchida ถูกใจ
  7. Tohchida

    Tohchida อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    371
    ว้าาาาาาา อุส่าไปเชิญจากทูู้นู้น ก็ไม่มาตอบทู้นี้ สงสัย นายพลตัดแปะแท้้้้้ๆ
    :wasntme::wasntme::wasntme::wasntme::wasntme::wasntme:
     
    apollo likes this.
  8. Alamos

    Alamos อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    13 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    7,052
    เอาจดหมาย UN ที่ส่งให้อเมริกาเรื่องตำรวจยิงผู้ต้องหาที่เป็นคนผิวสีมาให้ดูหน่อยซิครับ
     
  9. อู๋ คาลบี้

    อู๋ คาลบี้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,204
    ผมคิดว่าประชาชนบ้านเราไม่ได้เดือดร้อนแทนคนพวกนั้นหรอก
    เพราะรู้ดีว่าคนพวกนั้นแสดงออกแบบไหน
     
  10. ประสงค์ ไม่ออกนาม

    ประสงค์ ไม่ออกนาม อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    1 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    1,210
    ดีใจด้วยกับนายพลตัดแปะ ที่หาพ่อเจอแล้ว
     
    Alamos, apollo และ Tohchida ถูกใจ
  11. Tohchida

    Tohchida อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    371
    ว้าววววววววววววว นายพลตัดฯ มาแปลให้แย้ว ดีใจจุง ย่อหน้าสุดท้ายยยยยยยย ผมอ่านไม่เข้าใจ รบกวน(อีกที) อธิบายหน่อยนะครับ ขอๆๆๆๆๆๆ:p:p:p:p:p:p:p:p
     
  12. Tohchida

    Tohchida อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    371
    รบกวนอีกนิดนึงครับ .....คณะทำงานด้านการกักขังตามอำเภอใจของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ... เค้าทำงานอะไร แบบไหนครับ
    :rolleyes::rolleyes::rolleyes::rolleyes::rolleyes::rolleyes::rolleyes::rolleyes:
     
    Alamos likes this.
  13. redfrog53

    redfrog53 อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,466
    ประเทศตรู ไม่ใช่ เอ็นยู
     
    Alamos likes this.
  14. ปู่ยง

    ปู่ยง อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,820
    UN ประนามไทย จับนักข่าวแก้ผ้า


    .........................................หรือยังครับ
     
  15. หนูอ้อย

    หนูอ้อย อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    23 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,778
    แค่จับแก้ผ้า
    UN บอกว่ายังไม่เห็น เอ็นยู ยังไม่ประนามค่ะ คริคริ :giggle:
     
  16. Surawong

    Surawong อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    22 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    1,544
    นายพลตัดแปะ น่าจะตัดที่ พลตรี วีรชน เขาแถลงตอบโต้มาแปะ ด้วยนะ อย่าให้ใครเขาว่าได้ว่าทำงานสองมาตรฐาน เดี๋ยวมันจะเสียหลักการประชาธิปไตย
     
  17. ParaDon

    ParaDon อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    2 Aug 2015
    คะแนนถูกใจ:
    3,168
    Location:
    Thai
    ทำไมUNตาบอดหูหนวกไม่ไปดูทหารพม่าไล่ล่าคนในรัฐฉานในพม่าบ้าง
    เขาเรียกร้องเอกราชมาเป็นชาติแล้วลืมตาดูหน่อย
    กับประเทศไทยทำไมชอบเสือกจัง
    พวกเติร์กในตุรกีไปสนใจเขาบ้างวนอยู่แต่เรื่องขี้หมูราขี้หมาแห้ง
     
    หนูอ้อย และ Alamos ถูกใจ.
  18. 5555

    5555 อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    18 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    3,450
    เอาไอ้ที่มันแปลมาตรงเนื้อทู้น๊ะ
    ผมไม่รู้มันอ่านหนังสือยังไงของมัน ที่บอกประนาม
    ตรงไหนที่บอกประนาม....
    หรือ ตีความแบบควายแดง อั้นนี้ มันเกินปัญญาผม เพราะ ไม่ได้เรียนภาษาควายมา

    5555


     
    Tohchida likes this.

Share This Page