เคยชื่นชมเด็กคนนี้ ไม่ผิดหวัง ได้โนเบลไพร้ส์

กระทู้ใน 'สภากาแฟ' โดย กีรเต้, 10 ต.ค. 2014

  1. กีรเต้

    กีรเต้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,917
    Location:
    เชียงใหม่
    Pakistani teen, Indian activist win Nobel Peace Prize
    By Balazs Koranyi, Alister Doyle and Gwladys Fouche

    OSLO Fri Oct 10, 2014 6:47am EDT

    0 Comments
    • inShare12
    • Share this
    • Email
    • Print
    [​IMG]
    Pakistani schoolgirl activist Malala Yousafzai poses for pictures during a photo opportunity at the United Nations in the Manhattan borough of New York August 18, 2014.

    Credit: Reuters/Carlo Allegri


    Interactive
    [​IMG]
    114 Years of Nobel Laureates
    Related News
    Analysis & Opinion
    Related Topics

    (Reuters) - Pakistani teenager Malala Yousafzai, who was shot in the head by the Taliban in 2012 for advocating girls' right to education, and Indian children's right activist Kailash Satyarthi won the 2014 Nobel Peace Prize on Friday.

    Yousafzai, aged 17, becomes the youngest Nobel Prize winner by far.

    Satyarthi, 60, and Yousafzai were picked for their struggle against the oppression of children and young people, and for the right of all children to education, the Norwegian Nobel Committee said.

    The award was made at a time when hostilities have broken out between India and Pakistan along the border of the disputed, mainly Muslim region of Kashmir - the worst fighting between the nuclear-armed rivals in more than a decade.

    "The Nobel Committee regards it as an important point for a Hindu and a Muslim, an Indian and a Pakistani, to join in a common struggle for education and against extremism," said Thorbjoern Jagland, the head of the Norwegian Nobel Committee.

    Yousafzai was attacked in 2012 on a school bus in the Swat Valley in northwest Pakistan by masked gunmen as a punishment for a blog that she started writing for the BBC's Urdu service as an 11-year-old to campaign against the Taliban's efforts to deny women an education.

    Unable to return to Pakistan after her recovery, Yousafzai moved to Britain, setting up the Malala Fund and supporting local education advocacy groups with a focus on Pakistan, Nigeria, Jordan, Syria and Kenya.

    Satyarthi, who gave up a career as an electrical engineer in 1980 to campaign against child labor, has headed various forms of peaceful protests and demonstrations, focusing on the exploitation of children for financial gain.

    "It's an honor to all those children still suffering in slavery, bonded labor and trafficking," Satyarthi told TV news channel CNN-IBN after learning he won the prize.

    In a recent editorial, Satyarthi said that data from non-government organizations indicated that child laborers could number 60 million in India or 6 percent of the total population.

    "Children are employed not just because of parental poverty, illiteracy, ignorance, failure of development and education programs, but quite essentially due to the fact that employers benefit immensely from child labor as children come across as the cheapest option, sometimes working even for free," he wrote.

    Children are employed illegally and companies use the financial gain to bribe officials, creating a vicious cycle, he argued.

    Yousafzai last year addressed the U.N. Youth Assembly in an event Secretary-General Ban Ki-moon called "Malala Day". This year she traveled to Nigeria to demand the release of 200 schoolgirls kidnapped by the Islamist group Boko Haram.

    "To the girls of Nigeria and across Africa, and all over the world, I want to say: don't let anyone tell you that you are weaker than or less than anything," she said in a speech.

    "You are not less than a boy," Yousafzai said. "You are not less than a child from a richer or more powerful country. You are the future of your country. You are going to build it strong. It is you who can lead the charge."

    The prize, worth about $1.1 million, will be presented in Oslo on Dec. 10, the anniversary of the death of Swedish industrialist Alfred Nobel, who founded the award in his 1895 will.

    The previous youngest winner was Australian-born British scientist Lawrence Bragg, who was 25 when he shared the Physics Prize with his father in 1915

    (Reporting by Balazs Koranyi, Gwladys Fouche, Terje Solsvik and Alister Doyle, Additional reporting by Douglas Busvine and John Chalmers; Editing by Angus MacSwan; Editing by Angus MacSwan)
     
    Last edited: 10 ต.ค. 2014
    อู๋ คาลบี้, iba, RaRa และอีก 3 คน ถูกใจ
  2. notcomeng

    notcomeng อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    830
    สู้เพื่อการศึกษา ! ‘มาลาลา-ไกลาศ’ ร่วมคว้าโนเบล สันติภาพ
    น่าปลาบปลื้ม...มาลาลา ยูซาฟไซ สาวน้อยยอดนักสู้ชาวปากีฯ และ ไกลาศ สัตยาธี นักรณรงค์ด้านการศึกษาชาวอินเดีย ร่วมครองรางวัลโนเบล สันติภาพ ประจำปีนี้ ในฐานะต่อสู้เรียกร้องเพื่อสิทธิของเด็กๆและเยาวชน ในปากีสถานและอินเดียได้มีโอกาสได้รับการศึกษา

    สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ในที่สุด คณะกรรมการตัดสินรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ซึ่งชาวโลกเฝ้าติดตามด้วยความลุ้นระทึก ได้มีการประกาศผลออกมาแล้ว โดยผู้ร่วมคว้ารางวัลโนเบล สันติภาพ ประจำปี 2557 ได้แก่ มาลาลา ยูซาฟไซ หญิงสาวชาวปากีสถาน วัย 17 ปี และนายไกลาศ สัตยาธี ชาวอินเดีย วัย 60 ปี ในฐานะที่บุคคลทั้งสองเป็นนักรณรงค์ด้านการศึกษา พยายามต่อสู้เรียกร้องเพื่อสิทธิของเด็กๆ ในปากีสถานและอินเดียให้มีโอกาสได้เรียนหนังสือ

    คณะกรรมการตัดสินรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ กล่าวยกย่อง น.ส.มาลาลา ยูซาฟไซ และนายไกลาศ สัตยาธี สมควรได้รับรางวัลโนเบล สันติภาพ เนื่องจากพยายามต่อสู้เรียกร้องให้เด็กๆ และเยาวชนในอินเดียและปากีสถานได้รับการศึกษา

    [​IMG]
    สาวน้อยนักสู้ ร่วมครองโนเบล สันติภาพปี2557
    สำหรับ น.ส.มาลาลา ยูซาฟไซ นับเป็นบุคคลที่อายุน้อยที่สุด ที่ครองตำแหน่งโนเบล สันติภาพ ขณะที่เธอมีอายุเพียง 17 ปีเท่านั้น โดยสาวน้อยยูซาฟไซคนนี้ ชาวโลกรู้จักเธอดีตั้งแต่เธอยังเป็นเด็กหญิงยอดนักสู้ พยายามเรียกร้องให้เด็กๆ ในปากีสถาน ได้มีโอกาสเรียนหนังสือ จนทำให้เธอถูกกลุ่มตาลีบันพยายามสังหาร เมื่อปี 2555 จนเธอได้รับบาดเจ็บสาหัส

    [​IMG]
    มาลาลา ยูซาฟไซ ได้รับการต้อนรับจากนายบัน คี มุน เลขาธิการยูเอ็น
    ส่วนนายไกลาศ สัตยาธี นักรณรงค์ด้านการศึกษา วัย 60 ปี ได้ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของเด็กๆ ในการได้เรียนหนังสือ ตามแนวทางของ มหาตมะ คานธี อีกทั้งยังเป็นแกนนำการชุมนุมประท้วงด้วยหลักอหิงสา ยึดแนวทางสันติวิธีมาอย่างต่อเนื่อง

    ทั้งนี้ ในปี 2557 มีผู้ถูกเสนอชื่อให้เข้าชิงตำแหน่งรางวัลโนเบล สันติภาพ จำนวนถึง 278 คน รวมทั้งสมเด็จพระสันตะปาปา ฟรานซิส ประมุขแห่งคริสตจักรนิกายโรมันคาทอลิก จนทำให้มีการคาดการณ์ได้ยากมากว่า ใครจะเป็นผู้คว้ารางวัลอันทรงเกียรติประจำปีนี้
    http://www.thairath.co.th/content/455955
    -----------------------------------------------------------
    ช่วยหาข่าวภาษาไทยมาให้ครับ :D
     
    maya, paper punch, juemmy และอีก 4 คน ถูกใจ
  3. กีรเต้

    กีรเต้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,917
    Location:
    เชียงใหม่
     
    RaRa, bird และ notcomeng ถูกใจ
  4. กีรเต้

    กีรเต้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,917
    Location:
    เชียงใหม่
    พอดีไปเว็บ ยาฮู กับ รอยเตอร์มา ขอบใจ :p:p เดี๋ยวเอาลิ้งค์ไปโพสบ้านคนชรา
     
    RaRa, Takob, bird และอีก 1 คน ถูกใจ.
  5. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
    โอบามม่าก็เคยได้:p
     
    conservative, RaRa, ปู่ยง และอีก 1 คน ถูกใจ.
  6. ปู่ยง

    ปู่ยง อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,820
    นายพล จอร์จ มาร์แชลส์ แห่งกองทัพบกสหรัฐช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็เคยได้โนเบลสาขาสันติภาพ
     
    conservative, กีรเต้ และ RaRa ถูกใจ
  7. juemmy

    juemmy อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    517
    อิปูก็เกือบได้ อิอิ
     
    maya, paper punch, ชาวสวน และอีก 3 คน ถูกใจ
  8. dolly natwarin

    dolly natwarin สมาชิกทั่วไป

    สมัคร:
    6 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    95
    คนไทยมีใครได้บ้างคะ
     
    ridkun_user likes this.
  9. ปู่ยง

    ปู่ยง อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,820
    ยังไม่มีใครได้ครับ รอให้เค้าเพิ่มสาขา ตัวอย่างที่ดี ด้านเลว คนไทยอาจจะได้
     
    NXT, วิท และ กีรเต้ ถูกใจ
  10. ridkun_user

    ridkun_user อำมาตย์น้อย Staff Member

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    4,648
    มีหลายคนเห็นว่า ยังไม่ควรได้ครับ
    http://www.quora.com/What-has-Malala-Yousufzai-done-to-deserve-the-Nobel-Peace-Prize

    รางวัลโนเบลสันติภาพ ถูกมองว่าเป็นรางวัลการเมือง มากกว่ารางวัลโนเบลในสาขาอื่นๆ ที่มองที่ผลลัพธ์และผลงานมากกว่าจะมองไปในอนาคต แน่นอนครับว่าเด็กคนนี้เป็นคนที่มัศักยภาพมาก และอาจจะเป็นแรงบันดาลใจหรืออะไรก็ตามแต่ แต่ในความเป็นจริงคือ เธอยังไม่ได้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ อย่างเป็นรูปธรรมเลย

    มองไปถึงโนเบลสาขาฟิสิกส์ปี 2013 ที่ให้กับ ปีเตอร์ ฮิกกส์ ผู้ที่ในปี 1960 ได้เสนอทฤษฎีที่พยากรณ์ถึงอนุภาค boson ที่หายไปจาก Standard Mobel ที่ทุกคนเรียกว่า Higgs boson ตามชื่อเขา โดยที่ทฤษฎีของเขาก็เป็นที่ยอมรับกันในวงกว้างถึงแม้จะไม่เคยมีการยืนยันการมีอยู่ของอนุภาคดังกล่าวเลยจนกระทั่งในปี 2012 ที่ในที่สุดเครื่องเร่งอนุภาค LHC ของ CERN ที่ราคาเกือบ 3 แสนล้านบาทบวกกับค่าดำเนินการปีละประมาณ 3 หมื่นล้านบาท ก็หาไอ้ตัวอนุภาคนี้เจอจนได้ และทำให้ฮิกกส์ได้รับรางวัลโนเบลไปในที่สุด จากทฤษฎีที่เขาเสนอมาตั้งแต่ 50 ปีที่แล้ว

    ถ้าเทียบกันสองคนนี้แล้ว จะเห็นได้ชัดว่า ถ้าโนเบลสาขาสันติภาพใช้มาตรฐานเดียวกัน มันก็ยังไม่ถึงเวลาของเธอที่จะได้รางวัลนี้ จนกว่าจะพิสูจน์ให้เห็นได้จริงเสียก่อนว่าเธอคู่ควร

    ปล. ที่บอกว่าโนเบลสันติภาพเป็นรางวัลการเมือง ก็เพราะรางวัลมักจะถูกหยิบยื่นให้กับผู้ที่เคลื่อนไหวทางการเมืองในแบบฉบับที่ถูกจริตกับพวกตะวันตก ที่พวกลิเบอร่านชอบเรียกว่าสากลๆ นั่นแหละ
     
    Last edited: 16 ต.ค. 2014
    อู๋ คาลบี้, maya, กีรเต้ และอีก 3 คน ถูกใจ
  11. นายตัวเกร็ง

    นายตัวเกร็ง สมาชิกทั่วไป

    สมัคร:
    16 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    225
    โนเบลหรือจะสู้ผู้ได้รับการเสนอชื่อให้รับรางวัลสันติภาพขงจื้อ หึ!!
     
    Redbuffalo010, กีรเต้ และ ridkun_user ถูกใจ
  12. Alamos

    Alamos อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    13 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    7,052
    สาเหตุที่โอบาม่าได้ในวิกิบอกว่า "สำหรับความพยายามในการสร้างความเข้มแข็งให้กับการทูตระหว่างประเทศและความร่วมมือระหว่างผู้คนทั่วโลก" ตอนลุงตู่ยึดอำนาจนายกปัญญาอ่อนก็ออกมาด่าออกมากดดัน งานเลี้ยงก็ยังไม่เชิญ บอกไม่ใช่เพื่อน ช่างเป็นการฑูตที่บัดซบมาก
     
    กีรเต้ likes this.

Share This Page