กระหรี่ไง รายได้บางคนเดือนเป็นแสน โคตรเอาแปรียบสังคมเลย ไอ้ลายจุด งานการไม่ทำ เอาเงินที่ไหนมาแดก ไปถามมันมาให้หน่อยดิ
ขอพูดถึงโสเภณี ขายบริการ สมัยก่อนทำเพราะพ่อแม่อยากให้ทำ ขายลูกให้นายหน้า เหมือนเพลง แม่สาย ของคาราบาว สมัยนี้ทำเพราะเจ้าตัวเต็มใจเอง สนองความโลภของตัวเอง
นึกว่าเสื้อแดงจะชอบประชาติ๊ปตัยทุนเสรีนิยมซะอีก ที่แท้ก็อยากเป็นคอมมูนก็ไม่บอก ปล.อย่าลืมเอารายได้ของตระกูล ที่มีอดีตท่านนางยกและนายก มาประกอบด้วยนะครับแหม่...
ผมงงมากเลยครับ ผมแค่ไปค้นหาคำว่า "กระหรี่ขายชาติ" ใน google มันขึ้นรูปใครก็ไม่รู้อ่ะเต็มไปหมดเลย หรือลุงตู่ซื้อ google ไปแล้ว
กร๊ากกกกก กร๊ากกกกก กร๊ากกกกก แตะต้องท่านเทพเจ้าหนีคุกทักษิณไม่ได้เลยว่างั๊น คริ คริ คริ ผมแถก็ยังดีกว่ารับจ้างโพสต์กลับดำเป็นขาว เอาดีเข้าตัวเอาชั่วให้คนอื่น ใกล้ฤดูเลือกตั้งแล้วสิ รีบมากระหน่ำ โพสต์สร้างภาพให้พวกเผาเมืองควายแดงทั้งหลาย พยายามต่อไปนะ
ก็เป็นรัฐบาลทหารกะลาแลนด์อีกเช่นกันที่ผ่านกฏหมายที่ดินอีกแล้ว แถมยังไปเก็บพวกคนรวยเป็นหลักอีก ทำแบบนี้แสดงว่าไม่เห็นหัวคนจนเลย นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รมว.คลัง กล่าวในการแถลงข่าวว่า พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบในวันนี้ กำหนดให้บ้านที่มีมูลค่าไม่เกิน 50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นภาษี ส่วนบ้านหลังที่ 2 มูลค่า 5 ล้านบาท เสียภาษี 0.03% แต่โดยรวมแล้วบ้านที่อยู่อาศัยเพดานภาษีอยู่ที่ 0.50% สำหรับภาษีที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมจะได้รับยกเว้นในส่วน 50 ล้านบาทแรก โดยมีเพดานการจัดเก็บสูงสุดไม่เกิน 0.2% ส่วนการจัดเก็บภาษีที่ดินเพื่อพาณิชยกรรมหรืออื่นๆ สำหรับมูลค่าทรัพย์สิน 20 ล้านบาทจะเริ่มต้นอยู่ที่ 0.3% และขยับขึ้นตามมูลค่าทรัพย์สินโดยเพดานจะอยู่ที่ 2% ขณะที่ที่รกร้างว่างเปล่าปีที่ 1-3 จะเก็บ 1% และขยับขึ้นเรื่อยๆ ทุก 3 ปี หากไม่นำที่ดินดังกล่าวไปทำประโยชน์โดยที่เพดานสูงสุดจะอยู่ที่ 5% ทั้งนี้กฎหมายดังกล่าว จะเป็นการลดความเหลื่อมล้ำ เนื่อจากเป็นการเก็บแบบอัตราก้าวหน้า คนที่มีทรัพย์สินสูง จะเก็บสูง มีทรัพย์สินน้อย เสียน้อย ตรงนี้จะช่วยดูแลเกษตรกร และผู้มีที่อยู่อาศัย เพิ่มประสิทธิภาพจัดเก็บให้โปร่งใส ซึ่งคาดว่า การจัดเก็บภาษีดังกล่าว จะทำให้มีรายได้เข้ารัฐราว 6.4 หมื่นล้านบาทต่อปี จากเดิมมีรายได้ 3 หมื่นล้านบาท นายอภิศักดิ์ คาดว่า พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ ดังกล่าว จะมีผลบังคับใช้ในปี 2560 แต่ก็ต้องขึ้นกับการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.)ด้วยว่า จะมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดในส่วนใดหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากกฎหมายดังกล่าวออกมา จะมีผลให้มีการยกเลิกกฎหมายภาษีบำรุงท้องที่ รวมถึงภาษีโรงเรือนและที่ดิน ซึ่งใช้กันมาก่อนหน้านี้ ในที่สุดร่างกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างก็ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี และดูเหมือนว่าหลักเกณฑ์ใหม่ แทบจะไม่มีเสียงคัดค้าน โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยที่ทำให้คนส่วนใหญ่ไม่ต้องเสียภาษี ทำเนียบฯ 7 มิ.ย.-ครม.เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. …. คาดว่าจะมีผลใช้บังคับ 1 มกราคม พ.ศ.2560 นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามข้อเสนอของกระทรวงการคลัง โดยแบ่งประเภทจัดเก็บภาษีออกเป็น 4 ประเภท และกำหนดให้เป็นแบบอัตราก้าวหน้า มีทรัพย์สินจำนวนมากเสียภาษีมากกว่ารายย่อย ประกอบด้วย กลุ่มแรก ที่อยู่อาศัย หากเป็นบ้านหลังแรก ราคาไม่เกิน 50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นภาษี ส่วนบ้านพร้อมที่ดินราคาตั้งแต่ 50-100 ล้านบาท เสียภาษีในอัตราจัดเก็บจริงร้อยละ 0.5 หากบ้านราคาเกิน 100 ล้านบาท เสียภาษีร้อยละ 0.1 และหากบ้านหลังที่ 2 รายชื่อกรรมสิทธิ์ต้องเสียภาษีนับตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ตั้งแต่ร้อยละ 0.3 ของราคาประเมิน กลุ่มที่อยู่อาศัยกำหนดเพดานสูงสุดร้อยละ 0.5 ของราคาประเมินที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ประเภทที่ 2 คือ กลุ่มพื้นที่เกษตรกรรม กำหนดอัตราเพดานสูงสุด ร้อยละ 0.2 ราคาที่ดินไม่เกิน 50 ล้านบาท ได้รับการยกเว้นภาษี โดยราคาที่ดิน 50-100 ล้านบาท ร้อยละ 0.5 หากราคาเกิน 100 ล้านบาทจัดเก็บร้อยละ 0.1 ของราคาประเมินที่ดิน ประเภทที่ 3 จัดเก็บภาษีจากอาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหรรม ทรัพย์สินมากว่า 20 ล้านบาท จัดเก็บจริงร้อยละ 0.3 -1.5 ของราคาที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กำหนดอัตราเพดานสูงสุดร้อยละ 2 ส่วนประเภท 4 จัดเก็บภาษี จากกลุ่มที่ดินรกร้าง ว่างเปล่าและไม่ใช้ประโยชน์ จัดเก็บจริงในช่วงปีที่ 1-3 ปี ร้อยละ 1 และถือครองที่ดินว่างเปล่าปีที่ 4-6 ร้อยละ 2 ปล่อยให้รกร้างว่างเปล่าอีกปีที่ 7 จัดเก็บร้อยละ 3 ยังเป็นช่วงให้ปรับตัวจัดเก็บเพียงเล็กน้อย แต่หลังจากนั้นยังไม่ได้ทำประโยชน์ในปีที่ 4-6 จัดเก็บเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว กำหนดอัตราเพดานสูงสุดร้อยละ 5 ของราคาที่ดิน นอกจากนี้ ยังผ่อนปรนเพื่อบรรเทาภาระให้เจ้าของบ้านพักอาศัยหลักที่ได้มาจากการรับมรดก ผู้ประกอบกิจการอสังหาริมทรัพย์ สถาบันการเงินที่มีอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ได้มาจากการชำระหนี้ และกิจการสาธารณะ ประกอบด้วย 1.ในกรณีที่เจ้าของบ้านพักอาศัยหลักได้รับกรรมสิทธิ์บ้านหลังดังกล่าวมาจากการรับมรดกก่อนที่กฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใช้ จะมีการบรรเทาภาษีให้ โดยการลดภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างร้อยละ 50 ของจำนวนภาษีที่จะต้องเสีย 2.ให้ยกเว้นการจัดเก็บภาษีเป็นเวลา 1 ปี สำหรับที่ดินที่อยู่ระหว่างการปลูกสร้างบ้านที่เจ้าของใช้เป็นบ้านของตนเอง 3.ให้จัดเก็บภาษีในอัตราร้อยละ 0.05 ของฐานภาษี สำหรับที่ดินที่อยู่ระหว่างการพัฒนาเพื่อจัดทำเป็นโครงการที่พักอาศัยเพื่อขาย ที่นิติบุคคลที่ประกอบกิจการอสังหาริมทรัพย์เป็นเจ้าของ เป็นเวลา 3 ปี นับตั้งแต่เจ้าของที่ดินได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน และยกเว้นภาษีให้กับพื้นที่ส่วนกลางของหมู่บ้าน คอนโดมิเนียม 4.ให้จัดเก็บภาษีในอัตราร้อยละ 0.05 ของฐานภาษี สำหรับอสังหาริมทรัพย์รอการขายที่ได้มาจากการชำระหนี้ของสถาบันการเงิน เป็นระยะเวลา 5 ปี 5.ให้ลดภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างไม่เกินร้อยละ 75 ของจำนวนภาษีที่จะต้องเสีย สำหรับกิจการสาธารณะ เช่น โรงพยาบาล และโรงเรียน เป็นต้น สำหรับแนวทางการจัดเก็บภาษี ได้ออกกฎระเบียบวางกรอบการประเมินราคา สำหรับราคาที่ดิน กรมธนารักษ์ได้ทยอยประเมินราคาออกมาแล้ว 7-8 ล้านแปลง เพื่อใช้ในการเมินราคาจัดเก็บภาษี สำหรับสิ่งปลูกสร้างได้จัดแปลนบ้านแบ่งออกเป็น 7 ประเภท โดยจะกำหนดราคาไว้ชัดเจนว่าจัดเก็บในอัตราเท่าใด เพื่อตัดปัญหาการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ อปท.สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม กำหนดให้จัดจ้างบริษัทประเมินราคากรณีพิเศษในรูปแบบโรงงานอุตสหากรรม สำหรับอาคารพาณิชย์ เมื่อมีทั้งอยู่อาศัยและทำการค้า ให้นับชั้น 1, 2 เมื่อใช้ในการกอบพาณิชย์กรรม ชั้น 3, 4 ที่ใช้อยู่อาศัยให้คำนวณภาษีแบบอยู่อาศัยตามประกาศ นายอภิศักดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า กฎหมายยังให้อำนาจผู้บริหารท้องถิ่นสามารถขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจำจังหวัด หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพื่อลดหรือยกเว้นภาษีให้กับเจ้าของอาคารบ้านเรือนที่ได้รับความเดือดร้อนได้ เช่น เกิดภัยพิบัติ หรืออาคาร บ้านเรือนเกิดเสียหายหรือถูกทำลาย รวมทั้งการปรับฐานภาษีให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในพื้นที่ การจัดเก็บภาษีดังกล่าว เกษตรกรที่มีที่ดินไม่เกิน 50 ล้านบาท มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 99.98 ส่วนเกษตรกรมีที่ดินมูลค่าตั้งแต่ 50 ล้านบาทขึ้นไป หรือเจ้าของทรัพย์ต้องเสียภาษีสัดส่วนเพียงร้อยละ 0.011 ขณะที่บ้านอยู่อาศัยเข้าข่ายต้องเสียภาษีราคาเกิน 50 ล้านบาทมีเพียงร้อยละ 0.04 หรือจำนวนบ้าน 8,556 หลัง รายได้จากภาษีดังกล่าวมาจากด้านพาณิชยกรรม 60,000 ล้านบาท จากด้านเกษตร 50 ล้านบาท และที่อยู่อาศัยประมาณ 4,000 ล้านบาท รวมรายได้เพิ่มขึ้นประมาณ 60,000 ล้านบาท จากปัจจุบัน อปท.จัดเก็บรายได้ภาษีท้องถิ่นอยู่ที่ 20,000-30,000 ล้านบาท พระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2560 ภาษีที่ดินฯ ดังกล่าวเป็นการจัดภาษีจากฐานทรัพย์สินจัดเก็บจากมูลค่าทรัพย์จากเจ้าของทรัพย์ ผู้ครอบครองสินทรัพย์ของรัฐให้เช่า ผู้ครอบครองจึงต้องจ่ายภาษี และจัดเก็บแทนภาษีโรงเรือนและที่ดิน ซึ่งจัดเก็บรอยละ 12.5 จัดเก็บได้ประมาณ 20,000 ล้านบาท/ปี และภาษีบำรุงท้องที่ จัดเก็บได้ 700-800 ล้านบาท และมีปัญหาการใช้ฐานราคาประเมินในปี 2521 และการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พยายามจัดเก็บให้ใกล้เคียงของเดิม และเป็นการขยายฐานภาษีไปด้วย.-สำนักข่าวไทย
เห็นรูปนี้แล้วคิดถึงเจ้าของกระทู้เลย พูดถึง "ความเหลื่อมล้ำ" แต่พอหันกลับมามองดูกรณีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในไทย ที่ไม่มีแม้แต่บัตรประชาชน ก็นะ ถึงกับมองบนเลยทีเดียว เครดิต ตบดิ้น
เห็นชื่อเจ้าของกระทู้ ผมหลงดีใจว่าแกไม่ได้ล้มหายตายจากไปไหน แต่ก็ต้องแห้วเพราะเป็นกระทู้เก่าตั้งแต่เดือนมีนาคม หรือว่าบรรดาพวกรับจ้างโพสท์เปลี่ยนอาชีพไปเป็นก้อนอิฐในกำแพงคุณธรรมแถวคลองหลวงกันหมด