ม.44 พาการศึกษากลับยุค50ปี ยังพาสิ่งแวดล้อมลงคลอง

กระทู้ใน 'สภากาแฟ' โดย เจ๋งเหม่งจ๋าย, 23 Mar 2016

  1. เจ๋งเหม่งจ๋าย

    เจ๋งเหม่งจ๋าย สมาชิกทั่วไป

    สมัคร:
    8 Feb 2016
    คะแนนถูกใจ:
    22
    ปิดกระทู้ครับ
     
    Last edited: 23 Mar 2016
  2. นอกคอก

    นอกคอก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    5,396
    แล้วใน50ปีที่ผ่านมามันดีหรือเลวล่ะ ถ้าเลวต้องเลวต่อไป??? ดังนั้นถ้าตอนนี้มันไม่ดีก็กลับไปใช้ระบบที่มันดีก็ถูกต้องแล้ว
     
  3. ปู่ยง

    ปู่ยง อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,820
  4. Alamos

    Alamos อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    13 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    7,052
    นับวันยิ่งทำตัวเหมือนหน้าเลยแฮะ
     
  5. JSN

    JSN อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,746
    หนีเหรอ ไอ้ตุ้ด
    การศึกษาใหม่ต้องใช้แม็บเล็ตพังๆนะครับ
     
    อู๋ คาลบี้ และ ปู่ยง ถูกใจ.
  6. Kop16

    Kop16 อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    5 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    2,461
  7. Ricebeanoil

    Ricebeanoil อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    7 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    4,482


    องค์กรใหม่ดูแลการศึกษาตามมาตรา 44
    2016/03/24 8:38 PM

    กรุงเทพฯ 24 มี.ค.-จากกรณีที่ คสช. ใช้อำนาจมาตรา 44 ปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของไทยเป็นแบบรวมอำนาจขึ้นต่อจังหวัดโดยตรง นักวิชาการมองว่ารูปแบบการบริหารงานแบบนี้อาจทำให้การทำงานช้าลง

    ความไม่เป็นธรรมในการบรรจุแต่งตั้งโยกย้ายครู และการล้างบางอำนาจ คือเหตุผลที่ คสช. ใช้มาตรา 44 ขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาไทย จากการกระจายอำนาจบริหารแบบเขตพื้นที่การศึกษา เป็นไว้ที่จังหวัดโดยตรง

    เดิมการโยกย้ายครู เขตพื้นที่การศึกษาต้องเห็นชอบทั้งต้นและปลายทาง และการปฏิรูปการศึกษาแบบรวมศูนย์ นอกจากจะลดความไม่เป็นธรรมในการโยกย้ายแต่งตั้งบุคลากรแล้ว ยังช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของแต่ละพื้นที่ด้วย

    ก่อนปี 2542 การศึกษาภูมิภาค บริหารแบบองค์รวม โดยนโยบายของกระทรวงถูกส่งผ่านไปยังศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาธิการอำเภอ และโรงเรียน แต่เมื่อ พ.ร.บ.การศึกษาปี 2542 บังคับใช้ การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ศึกษาธิการจังหวัดและอำเภอถูกยุบ และตั้งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแทน ปัจจุบันมี 225 เขต ดูแลนโยบายและบุคลากร ผ่านมา 17 ปี

    การบริหารที่ต่างคนต่างทำ ไม่โปร่งใสในการบรรจุและโยกย้ายครูสะสม ขณะที่ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษามีมากขึ้น มาตรา 44 จึงยกแผงใหม่ ยุบเขตพื้นที่การศึกษาทั้งหมด พร้อมดึงอำนาจบริหารไปที่ศึกษาธิการจังหวัดแบบเดิม โดยเพิ่มศึกษาธิการภาค พร้อมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษามาดูแลด้วย

    นักวิชาการเชื่อว่าวิธีนี้ช่วยเกลี่ยครู ลดความเหลื่อมล้ำได้ แต่การบรรจุและโยกย้ายที่มีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้องคงไม่หมด แนะนำควรใช้ในระยะสั้นเท่านั้น เพื่อป้องกันการแทรกแซงทางการเมือง การปฏิรูประบบบริหารการศึกษาแบบฟ้าผ่ายกชุดครั้งนี้ แม้ดูผิวเผินจะเหมือนกับการย้อนอดีต แต่ผู้คนในแวดวงการศึกษาเชื่อว่าทุกการเปลี่ยนแปลงย่อมมีสิ่งดีเกิดขึ้น เสมอ.-สำนักข่าวไทย

    http://www.tnamcot.com/content/431827
     

Share This Page