ลงรูปนึง ตลาดคลองหลอด หน้าวัดศิริอำมาตย์ (วัดบุรณศิริมาตยาราม) เป็นตลาดนัดต้นไม้ในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ เมื่อปี 2511
cr : 77PPP เวทีราชดำเนิน (Rajadamnern Stadium) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1948 (พ.ศ.๒๔๙๑) Photographer: Jack Birns Image Source: LIFE magazine, United States
อดีต: โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล Siam Intercontinental Hotel ปัจจุบัน: ศูนย์การค้าสยามพารากอน Siam Paragon ถนนพระราม 1 (Rama I Road).. cr 77PPP
อดีต: ซิงเกอร์ โรงเรียนสอนการเย็บจักร์ - ตัดเสื้อ ปัจจุบัน: _ แยกสี่พระยา (Si Phraya Intersection) ถนนเจริญกรุง ตัดกับถนนสี่พระยา cr 77PPP
หลักจารึก ที่เกิดภาพยนตร์ในสยาม "The Birthplace of Cinema in Siam" อยู่ตรงบริเวณใต้ต้นโพธิ์ ติดถนนมหาไชย ใกล้แยกสามยอด (ถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชย) ในหลักจารึกเขียนไว้ว่า " ณ ที่นี้ เมื่อครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เคยเป็นที่ตั้งของโรงละครมงคลบริษัท หรือที่ชาวกรุงเทพฯมักจะเรียกว่าโรงละครหม่อมเจ้าอลังการ เป็นโรงละครซึ่งเปิดเมื่อปี ร.ศ. ๑๑๕ (พ.ศ.๒๔๓๙)
อดีต: ดอนอีเหยี่ยว เดิมพื้นที่ของเขตดอนเมืองเต็มไปด้วยท้องนา ป่ากก และป่าสน จึงเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของสัตว์ต่างๆ ชุกชุมไปด้วยเหยี่ยวและแร้ง ชาวบ้านจึงเรียกที่นี่ว่า “ดอนอีเหยี่ยว” มาตั้งแต่แรกหลังจากที่กองทัพอากาศได้สร้างสถานที่ราชการขึ้นในเขตนี้ “ดอนอีเหยี่ยว” จึงได้รับพระราชทานชื่อมาเป็น “ดอนเมือง” ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๖๙ เป็นต้นมา ปัจจุบัน : ดอนเมือง 77PPP
วิ้งนาครเขษม (ป้ายสามเหลี่ยมสีแดง มีรูปดาวเล็กๆสีขาวอยู่ตรงกลาง คือป้ายหยุดรถราง ที่ยังคงหลงเหลืออยู่เพียงป้ายเดียวในปัจจุบัน) The Last Tram Stop Sign ถนนเยาวราช (Yaowarat Road) กรุงเทพมหานคร | Bangkok 77PPP
พิธีเปิดพระบรมรูปทรงม้า Unveiling of H. M.'s Statue กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1908 (พ.ศ.๒๔๕๑)
มาร์ลอน แบรนโด (Marlon Brando) สนามหลวง (Sanam Luang) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1963 (พ.ศ.๒๕๐๖) 77PPP
สี่แยกประตูน้ำ Pratu Nam (Watergate) Intersection ถนนเพชรบุรี ตัดถนนราชปรารภ ตัดถนนราชดำริ Intersection of Phetchaburi Road, Ratchaprarop Road and Ratchadamri Road กรุงเทพมหานคร | Bangkok ภาพบนนี้ที่ตรงที่มีร่มแม่ค้า ผมจะกล่าวได้ไหมครับว่าที่นั้นคือตำนานขนมจีนประตูน้ำ ที่เคยลงข่าวหน้าหนึ่งของไทยรัฐ เป็นเรื่องกล่าวหากันใหญ่โต ที่ว่านำเอากระดาษทิชชูมาแทนเนื้อปลาในการทำน้ำยาขนมจีน
เครื่องสีข้าว (A rice mill) ทุ่งรังสิต ปทุมธานี Tung Rangsit, Pathum Thani ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1910 (พ.ศ.๒๔๕๓) Image Source: Pictures Plus Postcards, United Kingdom
ถนนพระรามที่ ๔ (Rama IV Road) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1969 (พ.ศ.๒๕๑๒) Image Source: Changton Natee, Thailand — withPairoj Phiammattawat and สุนีย์ เปี่ยมเมตตาวัฒน์. ข้อมูลเพิ่มเติมจากเม้นที่น่าสนใจ Win Jaroonvanichkul มุมตรงที่เป็นตึกสีลมเซ็นเตอร์ (โรบินสันสีลมเดิม) คือบ้านพระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะศิริ) เป็นตึก 3 ชั้น ที่หัวมุมคลองสีลมตัดกับคลองหัวลำโพง ออกแบบโดยมิสเตอร์ทาเวลล่า สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อจะให้เป็นโรงแรมสำหรับชาวต่างประเทศ ที่จะมาเที่ยวชมงานแสดงนิทรรศการ “สยามรัฐพิพิธภัณฑ์” เมื่องานแสดงนี้ถูกยกเลิก หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พระโสภณอักษรกิจจึงใช้เป็นบ้านพัก บ้านหลังนี้ตกเป็นของพระคลังข้างที่ในเวลาต่อมา และใช้เป็นที่ทำการต่างๆ ในที่สุดเป็นที่ตั้งโรงเรียนสหพาณิชย์ ก่อนที่จะรื้อสร้างอาคารสีลมเซ็นเตอร์ (ห้างโรบินสัน) เมื่อประมาณ พ.ศ. 2526 เสร็จราวๆปี 2528 อ้างอิง http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=1544693 http://haab.catholic.or.th/silom/silom9/silom9.html
กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1960 (พ.ศ.๒๕๐๓) Image Source: Bruno T., France CR 77PPP ความเห็นผมน่าจะการฝึกใช้อาวุธตำรวจหญิง
ถนนสีลม (Silom Road) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1970 (พ.ศ.๒๕๑๓) Image Source: Changton Natee, Thailand วรุตม์ จาละ แยกทางขวามือน่าจะเป็นถนนคอนแวนต์ ส่วนตึกทางด้านซ้ายน่าจะเป็นซอยธนิยะ
สำนักงานเทศบาลเมืองบางบัวทอง Bang Bua Thong Town Municipality นนทบุรี | Nonthaburi ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1937 (พ.ศ.๒๔๘๐) Image Source: เทศบาลเมืองบางบัวทอง, Thailand 77PPP * 14 มีนาคม 2558 ครบรอบ 78 ปี เทศบาลเมืองบางบัวทอง
โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล Siam Intercontinental Hotel ถนนพระราม ๑ (Rama I Road) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1966 (พ.ศ.๒๕๐๙) Image Source: Changton Natee, Thailand อันนี้ทางเข้าโรงแรมจากถนนพระราม1
กรุงเทพมหานคร | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1975 (พ.ศ.๒๕๑๘) Image Source: toyfndr3, United States — with สมบัต. วรุตม์ จาละ ปัจจุบัน Nuinui Sran แยกผ่านฟ้า ตรงที่เป็นธนาคารกรุงเทพ/หอศิลป์สมเด็จฯ
ถนนเพลินจิต (Phloen Chit Road) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1969 (พ.ศ.๒๕๑๒) Image Source: bausanierungkarl, Germany รูปนี้ดึงความทรงจำมากหลาย จำบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์(ที่มีป้ายอั๊กฟ่า) ได้ อีกมุม
กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1955 (พ.ศ.๒๔๙๘) Image Source: Three Lions, Getty Images, United States Phajon Um-in ปั๊มน้ำมันสามทหาร....
ปลากัด (Siamese Fighting Fish) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1970 (พ.ศ.๒๕๑๓) Image Source: Bruno T., France
กรุงเทพมหานคร | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1984 (พ.ศ.๒๕๒๗) Image Source: doikuro, Japan Tunluck Shatanan น่าจะยังเป็นตึกเดิมทั้งหมด ISingto Liu สะพานลอยย่านพระโขนง ถนนสุขุมวิท ตรงใกล้ๆ โรงหนังลอนดอน(ท่ีตอนนี้ปิดไปแล้ว ) สะพานลอยยังคงเหมือนเดิม
พัทยา ชลบุรี Pattaya, Chonburi ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1968 (พ.ศ.๒๕๑๑) Photographer: Mario Carnicelli Image Source: Britta Acquistapace, Germany — with Patt Notbethelastman. Laan Prasert โสภา สถาพร ปริม ประภาพร และ ป้าเต่า อรสา
ข่าวในพระราชสำนักเมื่อก่อน เมื่อครั้งที่ในหลวงยังพระพลานามัยดีอยู่ พระองค์ท่านจะพระราชทานปริญญาบัตรบัณฑิต พระราชทานกระบี่นายร้อย ประดับยศทหารชั้นนายพล (ในหลวงทรงถือคทาจอมพล ทหารจะย่อตัวลงให้ในหลวงใช้คทาจอมพลแตะบ่าทั้งสองข้าง) พระราชทานเพลิงศพ ด้วยการจุดฝักแค (หากผู้วายชนม์เป็นผู้ที่ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทเป็นพิเศษ จะเสด็จขึ้นไปบนเมรุเพื่อพระราชทานเพลิงเอง) ในต่างจังหวัด พระสงฆ์สำคัญที่มรณภาพ ในหลวงก็เสด็จมาพระราชทานเพลิงศพด้วยพระองค์เอง
สี่แยกราชประสงค์ (Ratchaprasong Intersection) ถนนเพลินจิตตัดกับถนนราชดำริ Intersection of Phloen Chit Road and Ratchadamri Road กรุงเทพมหานคร | Bangkok [๒๕๐๘|๒๕๓๓|๒๕๕๔] | [1965|1990|2011] Image Source: UWM Libraries, taisei, Google Earth โรงแรมเอราวัณ 3 ยุค 1เป็นตึกทรงไทยประยุกต์ 2ยุคที่คนไปกราบไหว้ยีห้อโซโก 3ปัจจุบัน และข้อมูลยุคก่อนรูปแรก Dumrong Indharameesup ที่เห็นนี่เป็นเอราวัณใหม่แล้ว เดิมเป็นตึกทรงยาวๆสูง3ชั้น เป็นโรงแรมรัฐบาลแห่งแรกและแห่งเดียว ช้างหน้ามีต้นไม่มาก มีพันเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์เป๊นผู้จีดกานใหญ่ ยังไม่มีพระพรม ด้านหน้ายังมีรถรางสายสีลมประตูน้ำวิ่งผ่าน
เยาวราช (Yaowarat, Chinatown) กรุงเทพมหานคร (พระนคร) | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1920 (พ.ศ.๒๔๖๓) Image Source: Changton Natee, Thailand — withทศวัชร เกษรมาศมณี.
77PPP Like This Page · September 12, 2014 · Edited · กรุงเทพมหานคร | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1972 (พ.ศ.๒๕๑๕) Image Source: soon2bexpat, United States — withPatt Notbethelastman. ใครเคยไปกินร้านทางขวามือบางครับ (ที่ดินปัจจุบันคือเกษรพาซ่า)
ไปเจอรูปนี้่เข้า น่าจะเป็นการเปิดงานฟุตบอลประเพณีจุฬา-ธรรมศาสตร์ ปี 2523 ซ้าย-สมัคร สุนทรเวช กลาง-ศรัณยู วงศ์กระจ่าง ขวา-ประภัทร์ ศรลัมพ์
เรือนเพชรสุกี้ (Ruen Petch Suki) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ (New Petchburi Road) กรุงเทพมหานคร | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1977 (พ.ศ.๒๕๒๐) Image Source: Holger Bauer, Germany — withPraewa Prae.
ชียงใหม่ | Chiang Mai ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1972 (พ.ศ.๒๕๑๕) Photographer: Nick DeWolf Image Source: Steve Lundeen, Nick DeWolf Photo Archive, United States — with Kaddy Pround andP'eak Payakka. ผมเรียบ ไดร์ฟู
โรงภาพยนตร์โคลีเซี่ยม ในวันเปิดตัวภาพยนตร์เรื่อง 'ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้ A' เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ Image Source: _ — with Indy Nong Perzii, Kamol Suksod, Nopporn Nopakuna, Suparat Thamsuriyaand Prasarn Tuu Piyarat.
เดอะมอลล์ ราชดำริ The Mall, Ratchadamri กรุงเทพมหานคร | Bangkok ถ่ายเมื่อปีค.ศ.1984 (พ.ศ.๒๕๒๗) Image Source: kedecker, United States ราชประสงค์
สถานีรถไฟกรุงเทพ หัวลำโพง Hua Lamphong, Bangkok Railway Station กรุงเทพมหานคร | Bangkok ถ่ายเมื่อราวปีค.ศ.1988 (พ.ศ.๒๕๓๑) Image Source: Nam, Japan — with Thanapol Jongsirijarern, Kanthima Phakpuang and Lo Brazil. ตำนานส้มตำหัวลำโพง หญิงสาวขายส้มตำ หญิงแก่ขายน้ำ ยกเสื่อ 300
เอารูปมวยเก่า ๆ มาดูกันบ้างดีกว่า รุ่นคุณปู่เลย ปี 2499 (ปีกำเนิดเวทีลุมพินีเลย) รูปบนนั่น คือ โผน กิ่งเพชร แชมป์ OPBF หรือแชมป์ภาคฯ ดาวรุ่งดวงใหม่ ในเวลานั้น กู้น้อย วิถีชัย ฉายา "ไอ้หยู" หรือ "กิมหยู" คนนี้ คือ นักมวยรางวัลเสื้อสามารถของกรมพละ เคยชกกับโผน 3 ครั้ง ครั้งแรกชนะโผน อีก 2 ครั้งแพ้ โดยครั้งนึงถึงกับเคยอาเจียนบนเวทีด้วยจากฤทธิ์หมัดของโผน โผน กิ่งเพชร หลังจากได้แชมป์โลกเคยให้สัมภาษณ์ว่า นักมวยที่เก่งที่สุดที่เคยเจอมา ไม่ใช่ ปาสคาล เปเรซ (นักมวยอาร์เจนติน่า เจ้าของฉายา "ยักษ์แคระ" ผู้เสียตำแหน่งให้โผน) ไม่ใช่ ไฟติ้ง ฮาราด้า (นักมวยชาวญี่ปุ่น ปัจจุบันยังมีชีวิตอยู่ ถ้าเมืองไทยแชมป์โลกที่เก่งที่สุด คือ เขาทราย ญี่ปุ่นก็คือ ฮาราด้านี่แหละ) แต่คือ เขาคนนี้ กู้น้อย วิถีชัย เอาร่วมสมัยมาหน่อย "เพชฌฆาตหน้าหยก" สามารถ พยัคฆ์อรุณ สมัยละอ่อน คนกลาง นั่นคือ "เจ้าพ่อนครบาล" แคล้ว ธนิกุล คนที่โดนสั่งเก็บด้วย M-16 อย่างน่าอนาถ ชนิดที่พระสมเด็จก็ช่วยไม่ได้ สองพี่น้องพยัคฆ์อรุณ ก้องธรณี-สามารถ กับครูมวยผู้เป็นตำนาน ผู้ล่วงลับ "ครูต้ย" ยอดธง เสนานันท์ ในแบบมวยสากลมั่ง 3 แชมป์โลกในเวลาเดียวกัน เขาทราย-สามารถ-สด พวกนี้ชกทีไร รถใน กทม.โล่งทุกที สมัยนี้ไม่มีแล้ว เขาทรายกับแฝดพี่ เขาค้อ
ฮีโร่โอลิมปิคคนแรก พเยาว์ พูลธรัตน์ ภาพจาก นสพ. ตอนชิงแชมป์โลกมวยสากลอาชีพที่จอมเทียน พัทยา เมื่อปี 2526 มีคนแรกแล้ว ก็ต้องมีคนที่สอง ทวี อัมพรมหา หรือ ขาวผ่อง สิทธิชูชัย ภาพจากสปอนเซอร์ ลิโพวิตัน-ดี ขยาย เมื่อดังแล้วก๋็ต้องเล่นหนัง (ตามสูตร) นี่คือ ตอนที่จะชิงเหรียญทอง กับนักมวยเจ้าภาพ เจอร์รี่ เพจ ซึ่งแน่นอน แพ้มาก็คือ ได้เหรียญเงิน สำหรับคลิปก็หาดูได้จากยูทู้ป ต้อนรับกลับบ้าน คนที่สาม ผจญ มูลสัน คนที่สี่ คนตรัง อิสระ ศักดิ์กรีรินทร์ หรือ อาคม เฉ่งไล่ มาดูน้าแสบ แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ มั่ง โฆษณาโค้ก เข้าเฝ้าฯ วันเสาร์ที่ 12 กรกฎาคม 2518 นายแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ ผู้ที่ จะขึ้นชกชิงตำแหน่งแชมเปี้ยนโลกรุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวท ของสภา มวยโลก และคณะเผ้า ฯ รับพระราชทานพระบรมราโชวาท เพื่อ เป็นมิ่งขวัญและกำลังใจ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
อาจจะยังไม่เก่าอะไรมากนัก แต่นี่คือ เมื่อ 16 ปีก่อน เนชั่นแชนแนล หรือเนชั่นทีวี ในปัจจุบัน ออกอากาศวันแรก วันพฤหัสบดีที่ี 1 มิถุนายน 2543 ทางยูบีซี 8 จะเห็นได้ว่าผู้ประกาศหลายคนอย่าง กนก ยังเอ๊าะ ๆ อยู่เลย ความยาวราว ๆ 26 นาที ในนั้นมีเรื่องของการชิงชัยผู้ว่า กทม. ในปีนั้นด้วย ที่สมัครได้รับเลือกตั้งไป