ปัญหาโรฮีนจา และ ท่าทีของรัฐบาลไทย ต่อ อเมริกา

กระทู้ใน 'สภากาแฟ' โดย Arch_Freeman, 16 May 2015

  1. Arch_Freeman

    Arch_Freeman สมาชิกทั่วไป

    สมัคร:
    1 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    244
    ผมอยากเรียกร้องให้ รมว. กระทรวงการต่างประเทศไทย ออกแถลงการณ์ ต่อถ้อยแถลงของ รมว ต่างประเทศของสหรัฐ ว่า

    1) ประเทศไทยยินดีสนับสนุนและช่วยเหลือทางมนุษยธรรมให้แก่ผู้อพยพ เดินทางต่อไปยังจุดหมายปลายทาง ได้แก่มาเลเซียและอินโดนีเซีย ที่เป็นประเทศพี่น้องชาวมุสลิมเหมือนกัน
    2) ประเทศไทยอยากเห็นประเทศสหรัฐ แสดงออกในความรับผิดชอบต่อผู้อพยพ ในฐานะที่ชอบเผือกไปทุกเรื่องบนโลกใบนี้ โดยการนำเรือบรรทุกเครื่องบินเข้ามาลอยลำเพื่อรับผู้อพยพไปส่งยังประเทศที่สามหรือประเทศตัวเอง โดยทางการไทยยินดีที่จะจะอนุญาตให้อเมริกานำเรือบรรทุกเครื่องบินเข้ามาให้ความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมต่อผู้อพยพ

    ประเทศไทยหวังว่า อเมริกา และ สหภาพยุโรป ในฐานะที่มีมาตรฐานทางด้านสิทธิมนุษยชนสูงส่งจะได้รับผู้อพยพไปดูแลยังประเทศของตน โดยประเทศไทยจะให้ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรมมากที่สุด

    หากอเมริกาถาม พลเอก ธนศักดิ์ ในฐานะประชาชนคนไทย ฝากให้ท่านช่วยตอบว่า ต้องการเรือบรรทุกเครื่องบินมาขนผู้อพยพเพื่อส่งไปยังค่ายดูแลที่ประเทศอเมริกา
     
  2. นอกคอก

    นอกคอก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    5,396
    บอกไปเลยครับว่าใครต้องการช่วย รัฐบาลไทยยินดีพาไปส่งถึงที่โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ว่าแต่สงสัย ทำไมไม่ไปกดดันต้นทางของปัญหาบ้าง
     
    อาวุโสโอเค, Annekun, Familie และอีก 4 คน ถูกใจ
  3. bookmarks

    bookmarks อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    23 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    8,447
    การที่สหรัฐผลักภาระชาวโรฮิงญามาให้ไทย กดดันไทยต่างๆ นานา สมควรตอบโต้มันกลับไปบ้างได้หรือยัง
     
  4. กีรเต้

    กีรเต้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,917
    Location:
    เชียงใหม่
    วุ่นวายกับบ้านคนอื่น ไม่เหลียวมองบ้านตัวเอง
     
  5. Familie

    Familie อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    13 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    1,753
    เรื่องพวกนี้ไม่ใช่ภาระหรือปัญหาที่ประเทศเล็กๆอย่างเราต้องคอยมารับผิดชอบ
    ความร่วมมือและมนุษยธรรมเรามีให้ แต่ความมั่นคงและประชาชนในชาติ
    ย่อมมาก่อนสิ่งอื่นใด
    หวังว่ารัฐบาลคงรอบคอบในการตัดสินใจ
     
  6. เสียของ

    เสียของ อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    18 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    752
    อเมริกากับอียูต้องเลิกยัดข้อหาค้ามนุษย์ให้ไทยก่อนแล้วค่อยมาคุยกัน
     
  7. hey guys

    hey guys อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    4,066
    สบายมาก ค้าให้ถูกกฏหมาย ไทยสู้ได้

    หนุ่มจีนทุ่มเงิน ซื้อตัวโรล่า มิซากิ ดารา AV สาว 15 ปี ด้วยเงิน 270 ล้าน!!!
    Untitled-11.jpg
    95638224704165de5081286c56ecd109.png

    เรืือบรรทุกเครื่องบินอเมริกาเข้ามารอยลำทุกปี

    เอวี ในอเมริกา ญี่ปุ่น ค้าได้ไม่ผิดกฏหมาย มูลค่าตลาดมหาศาลเป็นประชาธิปไตย เป็นสากล
    ค้าโรฮินจาอยู่ทำไม โง่บัดซบ

     
  8. Arch_Freeman

    Arch_Freeman สมาชิกทั่วไป

    สมัคร:
    1 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    244
    จะดีมาก หากที่ประชุม มีมติสรุปให้ อเมริกา หรือ ประเทศในยุโรป ส่งเรือบรรทุกเครื่องบินเข้ามาบรรเทาทุกข์ และรับผู้อพยพไปดูแลตามเกาะที่ตัวเองเป็นเจ้าของในมหาสมุทรอินเดีย โดยประเทศที่ไม่ประสงค์รับผู้อพยพจะให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเพื่อส่งผู้อพยพต่อไปยังประเทศที่เรียกร้องให้มีการช่วยเหลือ หรือ อยากช่วย
     
  9. กีรเต้

    กีรเต้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,917
    Location:
    เชียงใหม่
  10. temp

    temp อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    9 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    868
    http://politic.tnews.co.th/content/142832
    "บัน คี มูน" สายตรง "บิ๊กตู่" สอบถามคืบหน้าปัญหา "โรฮิงญา" ย้ำนักย้ำหนา คนกลุ่มนี้ต้องอุ้มชูอย่างดี -รัฐไทยรับปาก ช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรม พร้อมประชุม 15 ปท.หาทางออกร่วมกัน
     
  11. JSN

    JSN อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,746
    ช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรมแต่ไม่ให้อยู่ถาวรนะแจ๊ะ
     
  12. โยธกา

    โยธกา อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    20 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    3,727
    ลอยเรือเข้ามาก็ส่งแตงโมไปให้ซักลูกสองลูก
     
  13. thai4u

    thai4u อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    27 Dec 2014
    คะแนนถูกใจ:
    818
    ชาวโรฮิงญาเคยเข้าร่วมกับหัวรุนแรงสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงอินโด มาเลเซีย บังคลาเทศ
    ฝ่ายความมั่นคงมีข้อมูลอ่ะ
    อีกทั้งปัญหาของคนมันไม่เหมือนปัญหาของหมาของแมวนะฮะ
    แต่มันคือปัญหาความมั่นคง ถ้ามันหลั่งไหนมาซักล้านสองล้าน จะเอาอยู่ไหม
    ไอ้คุณกันก็เห่าแต่ปาก ไม่เคยยื่นมือมาช่วยเหลือประเทศที่รับผู้อพพยพแบบจริงๆจังๆ
    ดีแต่สะเออะ และเสนอหน้า
     
    Familie, JSN, ข้ามัน ลูกทุ่ง และอีก 3 คน ถูกใจ
  14. อู๋ คาลบี้

    อู๋ คาลบี้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,204
  15. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
  16. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
    1431799908-33659367-o.jpg
    1431799927-33659367-o.jpg

    วันนั้นก็ได้ดูข่าวที่thapaneeไปทำข่าวบนเรือพอดี คือ งงมากเหมือนคนพวกนี้พอรู้ว่ามีกล้องต้องทำท่าร้องไห้?
     
  17. Alamos

    Alamos อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    13 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    7,052
    ดัดจริตเป็นบ้าทั้งพม่าทั้งนักข่าว ที่ขัดใจสุดทำไหมต้องพูด "เมียนมา" ด้วยไม่เข้าใจ
     
  18. วิท

    วิท อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    298
    ยายฐะปะนีคนนี้รักทักษิณ อะไรที่ยายคนนี้จะตีกระทบไปรัฐบาลได้ยายคนนี้ทำหมด ทำมาดราม่าสงสารจะเป็นจะตาย อยากจะรู้นักเคยบริจาคเงินหรือสิ่งของให้โรฮินยาบ้างหรือยัง. ถ้าจะให้ดีรับไปอยู่ที่บ้านสัก 2-3 คนน่าจะดี
     
  19. อู๋ คาลบี้

    อู๋ คาลบี้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,204
    ถ้าพวกนั้นใช้ตรรกะนี้
    คงต้องเรียกเกาหลีเป็นโคเรีย, ญี่ปุ่นเป็นเจแปน,
    ฝรั่งเศสเป็นฟรองซ์ หรือฟรานซ์, จีนเป็นไชน่า ด้วย
     
    bookmarks, ปู่ยง, Alamos และอีก 1 คน ถูกใจ.
  20. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
    โอ้แม่เจ้าปั๊มลูกกันเก่งจริงๆ

    คนบังคลาเทศปั๊มลูกกันแค่เฉลี่ย4.4คน
    แต่โรฮิยาที่ไปตั้งแค้มปั๊มลูกเฉลี่ย 8 คน

    นี่มึงคนหรือกระต่าย:rolleyes:

     
    Familie, bookmarks, ปู่ยง และอีก 3 คน ถูกใจ
  21. อู๋ คาลบี้

    อู๋ คาลบี้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,204
    โรฮิงยาไม่มีงานทำหรือเปล่าครับ ว่างงานก็ปั๊มลูก
     
  22. plunk

    plunk อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    13 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    1,509
    ใหั อาหาร น้ำ และ น้ำมัน แล้วส่งไป ลี้ภัย ที่ ฐานทัพ เมกา ดีกว่าครับ ใกล้ๆก็ Diego garcia และ ที่ ฟิลิปปินส์
     
    Last edited: 18 May 2015
  23. tonythebest

    tonythebest อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    2,730
    ผมยินดีนะครับ หากรัฐบาลไทย จะใช้เงินภาษีของผม
    นำชาวอพยพขึ้นเรือไปส่งตามประเทศใจบุญเหล่านั้น
    ค่าเรือ ค่าลุกเรือ น้ำมัน อาหาร 3 มื้อ
    ยินดีให้เอาภาษีไปใช้ได้เลย เอาไปส่งให้ถึงอ้อมอก อเมริกา อังกฤษ
    หรือประเทษอะไรก็ได้ที่พยายามแสดงน้ำใจต่อชาวโรฮิงญา
    ด้วยการบอกให้ไทยรับไว้ดูแลนั่นล่ะ
    จะไม่ว่าสักคำ
     
    Familie, อู๋ คาลบี้, ปู่ยง และอีก 4 คน ถูกใจ
  24. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
  25. อู๋ คาลบี้

    อู๋ คาลบี้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,204
    ไอ้คนพูดแบบนี้ No action, talk only
    รู้จักปูมหลังและพฤติกรรมของโรฮิงญาบ้างไหม ?
     
  26. Tad

    Tad อำมาตย์ฝึกงาน

    สมัคร:
    16 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    1,773
    น่าเอาไปไว้ที่บ้านไอ้คนพูดสัก 3 คน
     
  27. Kop16

    Kop16 อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    5 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    2,461
    รับมาก็ภาระ ป.ไทย ได้เห็นความรุนแรงแน่
     
  28. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
    http://www.manager.co.th/home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000071573

    นายอับดุล กาลัม ชาวโรฮิงญาเป็นใคร เข้ามาไทยได้ยังไง แล้วมาตั้งสมาคมโรฮิยาในไทยได้อย่างไร ผมว่าควรเป็นบุคคลไม่พึ่งปรารถนาและขับไล่ออกจากไทยโดยด่วน
     
  29. HiddenMan

    HiddenMan อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,779

    :D

    dwompwfww33.png
     
  30. เผด็จการที่รัก

    เผด็จการที่รัก อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,076
  31. Bayonet

    Bayonet อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    2,804
    ถ้าผมเป็นผู้มีอำนวจ ผมจะบอกไอ้ประวิตว่า ถ้ามันรับชาวโรฮินจา ไปเลี้ยงดูสัก 2-3 คน ผมจะยกเว้นภาษีเงินได้ให้มัน

    ดูซิมันจะว่าไง :giggle:
     
  32. JSN

    JSN อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,746
    เห็นภาพนี้แล้วสงสารไม่ลงแล้ว ไอ้พวกเหลือขอพวกนี้

    image.jpg
     
    Familie, Bayonet, ข้ามัน ลูกทุ่ง และอีก 1 คน ถูกใจ.
  33. โยธกา

    โยธกา อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    20 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    3,727
    มันพูดแทนคนเสียภาษีทั้งประเทศได้เหรอ
    ไม่ดูหนังหน้าตัวเองเลย
     
  34. HiddenMan

    HiddenMan อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    11,779

    :D นักประชาธิปไตยผู้ไม่ยอมก้มหัวให้เผด็จการ... ทำได้ทุกอย่างเพื่อสร้างภาพครับ
     
  35. อาวุโสโอเค

    อาวุโสโอเค อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    8,527
    พม่าไม่เอาโรฮิญจา ส่วนหนึ่งเป็นเพราะการกระทำของชาวอาระกันที่เหมือนกับชาวโรฮิญจา ที่เข้ามาพยายามจะแยกดินแดนพม่า

    ไปรวมกับบังคลาเทศ การกระทำนั้นมีมานานตั้งแต่หลังยุคอังกฤษออกจากพม่าไป ในปี 2490

    การกบฏโรฮิงยาในพม่าตะวันตก
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    ความขัดแย้งกรณีโรฮิงยาในพม่าตะวันตก (Rohingya conflict in Western Burma) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยกลุ่มติดอาวุธของชาวโรฮิงยามุสลิมหลายกลุ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2490 การสู้รบเริ่มขึ้นโดยขบวนการมุญาฮิดีน (พ.ศ. 2490 – 2504) เพื่อแยกเขตชายแดนมายูที่มีชาวโรฮิงยาอยู่มากในรัฐยะไข่ออกมาจากพม่าตะวันตก และผนวกเข้ากับเพื่อนบ้านคือปากีสถานตะวันออกในขณะนั้น (ปัจจุบันคือบังกลาเทศ) ในช่วง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดสงครามปลดปล่อยบังกลาเทศ การสู้รบยังคงเกิดขึ้น ในปัจจุบันนี้ ขณะที่เกิดเหตุรุนแรงในรัฐยะไข่ ยังมีความพยายามของกองทัพโรฮิงยาที่จะแยกภาคเหนือของรัฐยะไข่ออกมาเป็นเอกราชหรือเขตปกครองตนเอง

    มุญาฮิดีนในยะไข่ (พ.ศ. 2490 – 2504)[แก้]
    การสู้รบของมุญาฮิดีนในยะไข่[แก้]
    การต่อสู้เริ่มจากการจัดตั้งพรรคการเมืองญามีอะตุล อูลามาเอ-อิสลาม นำโดยออมราเมียะห์ ที่ได้รับการสนับสนุนจากอุลนาร์ โมฮัมหมัด มูซาฮิดข่าน และโมลนาร์ อิบราฮิม ความพยายามของกลุ่มมุญาฮิดีนเพื่อที่จะรวมเขตชายแดนมายู ซึ่งเป็นตำบลหนึ่งในรัฐยะไข่เข้ากับปากีสถานตะวันออก ก่อนกรประกาศเอกราชของพม่า มีผู้นำชาวมุสลิมในยะไข่ไปพบมูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ผู้ก่อตั้งปากีสถานเมื่อประมาณเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2489 เพื่อขอความช่วยเหลือในการผนวกมายูเข้ากับปากีสถาน สองเดือนต่อมา มีการจัดตั้งสันนิบาตมุสลิมยะไข่เหนือในอักยับ (ปัจจุบันคือซิตตเว เมืองหลวงของรัฐยะไข่) เพื่อแสดงความต้องการที่จะรวมเข้ากับปากีสถานแต่จินนาห์ปฏิเสธข้อเสนอนี้ในที่สุด

    ในอีกด้านหนึ่ง รัฐบาลกลางพม่าปฏิเสธที่จะแยกรัฐมุสลิมในเขตมายู ซึ่งมีเมืองบูทิดองและเมืองหม่องเด่า ในที่สุด กลุ่มมุสลิมมุญาฮิดีนในยะไข่เหนือได้ประกาศญิฮาดต่อพม่า กองทัพมุญาฮิดีนได้เริ่มสู้รบในเมืองบูทิด่องและหม่องเด่าที่อยู่ตามแนวชายแดนระหว่างพม่ากับปากีสถานตะวันออก อับดุล กาเซมเป็นผู้นำกองทัพมุญาฮิดีน ภายในเวลาไม่กี่ปี กลุ่มกบฏมีความก้าวหน้าไปมาก ยึดครองหมู่บ้านในยะไข่ได้หลายหมู่บ้าน ชาวยะไข่ในเมืองทั้งสองถูกบังคับให้ออกจากบ้าน ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2492 การควบคุมของรัฐบาลในเมืองอักยับได้ลดลง ในขณะที่กลุ่มมุญาฮิดีนเข้ามายึดครองยะไข่เหนือ รัฐบาลพม่าได้จับกุมกลุ่มมุญาฮิดีนที่พยายามจะอพยพชาวเบงกอลเข้ามาในรัฐยะไข่อย่างผิดกฎหมาย เนื่องจากประชากรล้นเกินในปากีสถานตะวันออก

    การต่อต้านมุญาฮิดีนโดยกองทัพพม่า[แก้]
    มีการประกาศกฎอัยการศึกในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2491 เมื่อการกบฏลุกลามขึ้น และกลุ่มกบฏเข้าล้อมเมืองในเขตมายู กองทัพพม่าที่ 5 และกองทัพฉิ่นที่ 2 ถูกส่งเข้าไปในพื้นที่ กองทัพพม่าได้เริ่มยุทธการเพื่อต่อต้านมุญาฮิดีนในยะไข่เหนือ ระหว่าง พ.ศ. 2493 – 2497 ยุทธการแรกเริ่มใช้ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2493 ยุทธการที่สองเรียกว่ายุทธการมายูเกิดขึ้นในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2495ในช่วงครึ่งหลังของ พ.ศ. 2497กลุ่มมุญาฮิดีนได้ฟื้นตัวขึ้นและเข้าโจมตีเมืองบูทิด่อง เมืองหม่องเด่าและเมืองราเทด่อง

    ผู้นำมุญาฮิดีนที่ถูกอาวจีจับกุมได้เมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2504
    พระภิกษุชาวยะไข่ได้ออกมาประท้วงในย่างกุ้งเพื่อต่อต้านกลุ่มมุญาฮิดีน ผลของการกดดันทำให้รัฐบาลพม่าออกยุทธการมรสุมในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2497 กลุ่มมูญาอิดีนจำนวนมากถูกจับกุมและหัวหน้ากลุ่มถูกฆ่า ทำให้กิจกรรมของกลุ่มลดลงไปกลายเป็นกลุ่มติดอาวุธหลายกลุ่มที่ก่อการร้ายในภาคเหนือของรัฐยะไข่ ใน พ.ศ. 2500 กลุ่มมุญาฮิดีน 150 คนนำโดยชอร์ มาลุกและซูระห์ ทาน ถูกจับกุม ในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 กลุ่มมุญาฮิดีน 214 คน ในกลุ่มของราชิดถูกจับกุม ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 กลุ่มมุญาฮิดีน290 คนทางใต้ของหม่องเด่ายอมจำนนต่อกองทัพพม่านำโดยอาวจี ในช่วงนี้เป็นช่วงที่มีการเจรจาระหว่างพม่ากับปากีสถานเกี่ยวกับกบฏตามแนวชายแดน ทำให้ความหวังของกบฏลดลง ในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 กลุ่มกบฏมุญาฮิดีนกลุ่มสุดท้ายในบูทิด่องถูกกองทัพพม่านำโดยอาวจีจับกุมได้
     
    Familie และ นอกคอก ถูกใจ.
  36. อาวุโสโอเค

    อาวุโสโอเค อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    8,527
    ความตกต่ำของมุญาฮิดีน (พ.ศ. 2505 – 2513)[แก้]
    หลังจากรัฐประหารของนายพลเน วินใน พ.ศ. 2505 กิจกรรมของกลุ่มมุญาฮิดีนลดลงและเกือบจะหายไป ซัฟฟาร์เป็นผู้นำมุญาฮิดีนที่เหลือ และมีการต่อต้านที่เป็นอิสระแก่กันตามแนวชายแดนพม่า-ปากีสถาน

    ขบวนการอิงศาสนาอิสลามโรฮิงยา[แก้]
    ขบวนการทางทหารที่ใช้ความรุนแรง (พ.ศ. 2514 – 2531)[แก้]

    กองทัพโรฮิงยา

    ระหว่างสงครามปลดปล่อยบังกลาเทศในพ.ศ. 2514 โรฮิงยาที่อยู่ใกล้แนวชายแดนได้สะสมอาวุธจากสงคราม ในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 หัวหน้ากลุ่มกบฏมูญาฮิดีนที่เหลืออยู่คือซัฟฟาร์ได้จัดตั้งพรรคปลดปล่อยโรฮิงยา (RLP) โดยซัฟฟาร์เป็นประธานพรรค ศูนย์กลางการต่อสู้อยู่ที่บูทิด่อง เมื่อกองทัพพม่าเริ่มปราบปราม ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2517 ซัฟฟาร์ได้หนีไปบังกลาเทศและบทบาทของเขาได้หายไป หลังจากการล้มเหลวของ RLP มูฮัมหมัด จาฟาร์ ฮาบิบ อดีตเลาธิการของ RLP ได้จัดตั้งแนวร่วมโรฮิงยารักชาติ (RPF) ใน พ.ศ. 2517 ต่อมา ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2521 รัฐบาลทหารของเนวินได้จัดยุทธการราชามังกรในยะไข่เพื่อตรวจสอบผู้อพยพที่ผิดกฎหมายที่อาศัยอยู่ในพม่า ทำให้มีชาวโรฮิงยาถูกผลักดันไปยังแนวชายแดนบังกลาเทศ ทำให้มีการลุกฮือของชาวโรฮิงยาตามแนวชายแดน RPF ใช้โอกาสนี้เข้ามาปลุกระดม [4][5][6] ต่อมาในราว พ.ศ. 2523 กลุ่มหัวรุนแรงได้แยกออกจาก RPF และจัดตั้งองค์กรโรฮิงยาเข้มแข็ง (RSO) นำโดยมูฮัมหมัด ยูนุส ซึ่งเคยเป็นผู้นำของ RPF มาก่อน ต่อมาได้เป็นองค์กรหลักของโรฮิงยาตามแนวชายแดนพม่า-บังกลาเทศ RSO ประกาศตนเป็นองค์กรทางศาสนาจึงได้รับการสนับสนุนจากโลกมุสลิมรวมทั้ง JeI ในบังกลาเทศและปากีสถาน ฆุลบุดดิน เฮกมัตยัร ฮิซบ์เออิสลามี (HeI) ในอัฟกานิสถาน ฮิซบ์อุลมูญาฮิดีนในรัฐชัมมูและกัษมีระ (HM) อังกาตัน เบเลีย อิสลาม ซามาเลเซีย (ABIM) และองค์กรยุวชนอิสลามแห่งมาเลเซีย องค์กรทางด้านศาสนาอีกองค์กรหนึ่งของโรฮิงยาคือแนวร่วมอิสลามโรฮิงยาอาระกัน (ARIF) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2529 โดยนูรุล อิสลาม อดีตรองประธาน RPF

    การขยายตัวทางการทหารและการเชื่อมโยงกับฏอลีบันและอัลกออิดะห์ (พ.ศ. 2531 – 2554)[แก้]
    ค่ายทหารของ RSO ตั้งอยู่ที่ตำบลคอกบาซาร์ทางใต้ของบังกลาเทศ มีการส่งอาวุธจากฏอลีบันมาให้ตามแนวชายแดนพม่า-บังกลาเทศ บางส่วนได้ส่งทหารไปฝึกในอัฟกานิสถาน[7]การขยายตัวของ RSO ในช่วง พ.ศ. 2533 ทำให้รัฐบาลพม่าเข้ามากวาดล้างตามแนวชายแดนพม่า-บังกลาเทศ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2534 ทหารพม่าได้ข้ามพรมแดนไปโจมตีกองทหารในบังกลาเทศซึ่งทำให้เกิดความตึงเครียดกับบังกลาเทศ และในเดือนเมษายน พ.ศ. 2535 ชาวโรฮิงยามากกว่า 250,000 คนถูกผลักดันให้ออกจากยะไข่ซึ่งเหตุการณ์นี้ถูกประณามจากซาอุดิอาระเบีย[4][8]ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2537 มีสมาชิก RSO 120 คนเข้าสู่หม่องด่าวโดยข้ามแม่น้ำนาฟที่เป็นแนวพรมแดนระหว่างพม่าและบังกลาเทศ ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2537 มีระเบิดเกิดขึ้นในเมืองหม่องด่าว 12 แห่ง[9] ต่อมา ในวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2541 สมาชิก RSO และแนวร่วมอิสลามโรฮิงยาอาระกัน (ARIF) ได้รวมเข้าด้วยกันและจัดตั้งสภาแห่งชาติโรฮิงยา (RNC) และกองทัพแห่งชาติโรฮิงยา (RNA) นอกจากนั้นได้จัดตั้งองค์กรแห่งชาติโรฮิงยาอาระกัน (ARNO) เพื่อจัดการกับกลุ่มโรฮิงยาที่มีความแตกต่างกันเข้ามาเป็นกลุ่มเดียว ซึ่งมีรายงานว่ากลุ่ม ARNO นี้มีความเกี่ยวพัน กับอัลกออิดะห์[10]

    ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 มีชายชาวโรฮิงญาประมาณ 80 - 100 ในเมืองหม่องด่าวตามแนวชายแดนถูกจับกุมโดยกองทัพพม่าที่ประจำตามแนวชายแดนและถูกเชื่อมโยงกับฏอลีบัน[11][12] กองทหารฏอลีบันที่ชื่อว่ามูลีวี ฮารุนได้ตั้งค่ายฝึกและจัดทำระเบิดทางเหนือของหม่องด่าวติดกับชายแดนบังกลาเทศในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 บุคคลต้องสงสัยที่ถูกจับกุม มี 19 คนถูกนำมาศาลก่อนในเดือนมีนาคมและเมษายนปีเดียวกัน.[13] มี 12 คนที่มีความเกี่ยวข้องกับฏอลีบันหรือกองกำลังติดอาวุธอิสลามถูกตัดสินจำคุกเมื่อ 6 กันยายน พ.ศ. 2554[14]
     
  37. อาวุโสโอเค

    อาวุโสโอเค อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    1 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    8,527
    ความเห็นเกี่ยวกับเหตุรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับโรฮิงยา[แก้]
    โมเฮ เยกัร นักประวัติศาสตร์ชาวอิสราเอลได้กล่าวว่าขบวนการแบ่งแยกดินแดนมุญาฮิดีนในยะไข่เกิดขึ้นเพราะนโยบายของรัฐบาลที่กดดันต่อชาวมุสลิมโรฮิงยา โดยสาเหตุของปัญหาได้แก่ หลังจากที่พม่าประกาศเอกราช มุสลิมไม่ได้รับการยอมรับในราชการทหาร รัฐบาลพม่าได้แทนที่ตำรวจ และเจ้าหน้าที่ชาวมุสลิมด้วยชาวยะไข่ ต่อต้านชุมชนมุสลิม มุสลิมถูกจับโดยทหารและตำรวจ การประกาศให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติได้ก่อให้เกิดปัญหาแก่มุสลิมโรฮิงยา ชาวกะเหรี่ยง กะฉิ่นและฉิ่นที่นับถือศาสนาคริสต์ ทำให้เกิดขบวนการเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อยเหล่านี้[15] เยกัรยังได้กล่าวว่าขบวนการแบ่งแยกดินแดนมุสลิมในยะไข่เกิดขึ้นก่อนพม่าได้รับเอกราช โดยเกิดขึ้นพร้อมกับการขอแยกดินแดนมายูในรัฐยะไข่ และต้องการเป็นรัฐเอกราชของมุสลิม ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2489 มุสลิมในยะไข่ได้เรียกร้องต่อโมฮัมหมัด อาลี จินนาห์เพื่อขอให้ผนวกดินแดนของตนเข้าไปในปากีสถานที่จะตั้งขึ้นใหม่

    อย่างไรก็ตาม กบฏมุญาฮิดีนเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของอูนุซึ่งเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย และชาวมุสลิมยังได้รับการยอมรับจากรัฐบาล การต่อต้านและการกดดันต่อมุสลิมเกิดขึ้นในสมัยนายพลเน วิน นอกจากนั้น ช่วงเวลาในการประกาศให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติยังไม่สอดคล้องกันเพราะพม่าประกาศให้ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติเมื่อ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 ในขณะที่กบฏมุญาฮิดีนเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2490.[16]

    อเย จัน นักประวัติศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยกันดาได้เสนอว่าขบวนการมุญาฮิดีนในยะไข่เกิดจากความรุนแรงระดับหมู่บ้านระหว่างชาวโรฮิงยาและชาวยะไข่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2485[17] โดยในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2485 มุสลิมโรฮิงยาจากภาคเหนือของยะไข่ได้ฆ่าชาวพุทธยะไข่ราว 20,000 คน ในเมืองบูทิด่องและหม่องเด่า ในช่วงเวลาเดียวกัน มุสลิมโรฮิงยา 5,000 คนในในมินเบียและมรวกอู ถูกชาวยะไข่ฆ่า[18] ความรุนแรงเกิดขึ้นเพราะกองกำลังมุสลิมติดอาวุธและอังกฤษทางภาคเหนือของยะไข่ได้สร้างเขตกันชนเพื่อป้องกันการรุกรานของญี่ปุ่น[19]และชาวมุสลิมได้รับการสนับสนุนจากอังกฤษให้สร้างเขตเฉพาะชนชาติตน[20] อย่างไรก็ตาม กองกำลังของโรฮิงยาพยายามที่จะทำลายหมู่บ้านของชาวยะไข่แทนที่จะต่อต้านญี่ปุ่นเพียงอย่างเดียว ความขัดแย้งระหว่างยะไข่กับโรฮิงยาจึงเกิดขึ้น[17] เมื่อรัฐเอกราชใหม่ของมุสลิมคือปากีสถานสามารถจัดตั้งขึ้นได้ ชาวโรฮิงยาจึงต้องการประเทศของตนเองตามที่อังกฤษเคยสัญญาไว้ โดยขอแยกดินแดนมายูออกจากพม่าตะวันตกไปรวมกับปากีสถานตะวันออก มุญาฮิดีนได้ลุกฮือขึ้นในยะไข่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 และเกิดขึ้นต่อเนื่องมา

    ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/การกบฏโรฮิงยาในพม่าตะวันตก
     
  38. ข้ามัน ลูกทุ่ง

    ข้ามัน ลูกทุ่ง สมาชิกทั่วไป

    สมัคร:
    11 พ.ย. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    242
    ..ท่านผู้นำ.. จะให้ ..ชาวโรฮิงญา..อยู่เกินปีไหม?? อะครัฟ..

    .... หากอยู่นาน.. ..ขอเสนอว่า.. ..จับทำหมัน ให้หมดเลย ..ทั้งชาย-หญิง...
     
  39. อู๋ คาลบี้

    อู๋ คาลบี้ อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    15 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    12,204
    อยากรู้เนอะ ว่าถ้ารับพวกโรฮิงยาไปดูแล ให้ที่พักพิง อยู่ยาวๆ แล้วเกิดก่อเหตุร้ายขึ้นมา
    ไอ้พวกสนับสนุนจะออกมารับผิดชอบมั้ย ...............??
     
    ข้ามัน ลูกทุ่ง และ JSN ถูกใจ.
  40. JSN

    JSN อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,746
    ที่ตั้งใจมาทำงานก็มีครับ ก็คือพวกที่ขายถั่ว ขายโรตีนี่แหละครับ
     
  41. JSN

    JSN อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    12 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    9,746
    https://www.facebook.com/siriwanna.jill/posts/673667042767534:3
    ขอเล่าปัญหาโรฮิงญา ที่กำลังเกิดกับไทยตอนนี้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน เพราะที่ผ่านมาโดนบิดเบือน จากนักข่าวฝรั่งในไทย ......ประเด็นแรก โรฮิงญาในไทย ไม่ใช่ "การค้ามนุษย์" ตามนิยามของ UN และต้นทางของปัญหา ไม่ใช่เพียง แค่ บังกลาเทศ กับ พม่าเท่านั้น จะต้องนับรวมถึง Cox's Bazar ค่ายพักพิงของโรฮิงญา ในบังกลาเทศที่ UNHCR จัดตั้งขึ้นด้วย ซึ่งเป็นต้นทาง ของการเดินทางออกมาของโรฮิงญาด้วย ดังนั้น วิธีการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง คือ UNHCR จะต้องรับกลับ ไปอยู่ในค่ายเช่นเดิม

    เริ่มแรก ใน Cox's Bazar ชาวโรฮิงญา หมายถึงคนที่ไปจากยะไข่ ประมาณ 300,000 คน เต็มจำนวนที่ทางค่ายจะรับได้ ชื่อค่าย Kutupalong. กับ Nayapala ขณะนี้มีเหลือราว 30,000 คน เพราะ โรฮิงญาในค่ายหนีออกไป เพื่อหางานทำทั่วโลก เฉพาะในซาอุดีอาระเบีย มีชาวโรฮิงญา แสนกว่าคน โรฮิงญา ที่อยู่ในค่าย อาจจะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่า คนที่อยู่นอกค่าย แต่คนพวกนี้ ยังไม่พอใจ แม้จะได้รับค่ายังชีพ อาหาร ที่พัก แต่ไม่สามารถ ออกไปทำงานนอกค่ายได้

    จุดเริ่มต้นของการเดินทาง ออกนอกค่ายคือ เรื่องที่ไม่สามารถ ออกนอกค่ายไปหางาน ทำได้ พวกนี้จึงหาทางออกมา อย่างสมัครใจ เพราะมีการปล่อยข่าวเรื่องงาน ในมาเลเซีย และไทย แต่การเดินทางนั้น ต้องมีค่าใช้จ่าย คนที่ไม่มีเงิน จึงตกอยู่ในฐานะที่ลำบาก ต้องต่อเรือเอง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีกมาก คนที่นำพาออกไปทำงาน จึงให้หยิบยืมเงิน จ่ายเงินค่าหัวให้ก่อน แล้วเก็บคืนภายหลัง ถ้าไม่มีเงินก็หาทางเก็บ จากญาติพี่น้อง จาก Cox's Bazar มาถึงไทยหัวละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท คนนำพาจะจ่ายเบี้ยใบ้รายทาง ให้แต่ละด่าน เพราะเป็นผลประโยชน์ ของคนนำพาด้วย จนถึงมาเลเซีย ไทยจึงเป็นเพียงทางผ่าน ไปมาเลเซีย เท่านั้น

    เมื่อเข้ามากันมากขึ้น จะพาไปซ่อนในป่าที่สงขลา รอนายจ้าง หรือ นายหน้ามาเลเซียมารับ โดยมาเลเซียจะคัดเลือก แต่คนที่แข็งแรง คนอ่อนแอ จะถูกทิ้งไว้ในป่า เจ็บป่วยและอดตายไป บางกลุ่มมีญาติพี่น้อง ไม่อยากเข้าไปทำงาน ในมาเลเซีย เครือข่ายโรฮิงญาในไทย ก็จัดหาทางให้ไปทำงาน ในจังหวัดต่างๆ กรุงเทพฯ พัทยา ขอนแก่น ตาก รวมกัน มีจำนวนนับหมื่นคน ในไทยแล้ว พวกนี้จะหาทางแต่งงาน กับคนไทย ระยะหลังมีชาวบังกลาเทศ ผสมเข้ามาขายโรตี ที่ซื้อทานกันทุกวันนี้

    ประเด็นที่โรฮิงญาอ้างว่า ถูกกระทำที่โหดร้ายทารุณนั้น มีสาเหตุมาจาก นักข่าวฝรั่ง สื่อออนไลน์ Phuketwan 2 คน ซึ่งเคยโดน กองทัพเรือไทย ฟ้องหมิ่นข้อหาหมิ่นประมาท จากรายงานข่าว ที่กล่าวหาว่าทางกองทัพเรือไทย มีส่วนพัวพันในการลักลอบ นำชาวโรฮิงญาเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย โดยขายข่าวป้อนให้สำนักข่าวต่างประเทศ ได้ยุยงให้โรฮิงญา พูดเรื่องโกหก แล้วถ่ายทำคลิปออกมาเผยแพร่ เรื่องที่มีการขุดศพพบนั้น เป็นการบังเอิญ ที่ชาวบ้านชุดเจอ แต่ไม่มีการยืนยันว่า ถูกทารุณ อย่าหลงเชื่อดราม่าโรฮิงญา และดรามาแยม เป็นอันขาด

    รัฐบาลต่างชาติ ต้องการยกระดับเรื่องนี้ จากที่เป็นเพียง "ผู้หลบหนีเข้าเมือง โดยผิดกฎหมาย " ให้กลายเป็น "การค้ามนุษย์ "ที่มีลักษณะถูกบังคับขู่เข็ญ และทารุณกรรม เพื่อจะได้หาทางกดดันไทย

    นิยาม "การค้ามนุษย์" “พิธีสารเพื่อป้องกันปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะ สตรีและเด็ก” หมายถึง "การจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่ อาศัยหรือการรับไว้ ซึ่งบุคคลด้วยวิธีการขู่เข็ญ หรือด้วยการใช้กำลัง หรือ ด้วยการบีบบังคับในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วย การหลอกลวงด้วยการใช้อำนาจ โดยมิชอบหรือด้วยการใช้สถานะความ เสี่ยงภัยจากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้ หรือรับเงิน หรือผลประโยชน์ เพื่อให้ได้มาซึ่งความยินยอมของบุคคลผู้มีอำนาจ ควบคุมบุคคล อื่นเพื่อความมุ่งประสงค์ในการแสวงประโยชน์ การแสวงประโยชน์อย่างน้อยที่สุด ให้รวมถึงการแสวงหา ประโยชน์จากการค้าประเวณีของบุคคลอื่นหรือ
    การแสวงประโยชน์ ทางเพศในรูปแบบอื่น การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาสหรือการกระทำอื่น เสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การทำให้ตกอยู่ใต้บังคับ หรือการตัดอวัยวะออกจากร่างกาย
     
  42. bookmarks

    bookmarks อำมาตย์น้อย

    สมัคร:
    23 ต.ค. 2014
    คะแนนถูกใจ:
    8,447
    คงว่างมาก
     

Share This Page