เมื่อ 19 พ.ย. น.ส.ชยิกา วงศ์นภาจันทร์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว Sand Wongnapachant ข้อความดังนี้ เป็นวิวาทะกันมาร่วมอาทิตย์กว่าสำหรับ กรณี องค์การเพื่อการปฏิรูปและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน : ปรส. ระหว่างฝ่ายสนับสนุนพรรคเพื่อไทย และ พรรคประชาธิปัตย์ ถึงขั้น “สอนมวย” กันเลยทีเดียว แต่ที่แน่ๆ งานนี้เห็นทีจะไม่พ้นยุทธศาสตร์ “โบ้ยทักษิณ” อีกแล้ว วันนี้ จึงขอนำเสนอ “ความจริง” ที่พรรคประชาธิปัตย์ไม่เคยกล่าวถึงเพื่อความชัดเจนดังนี้ 1. รัฐบาล พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2539-2540) ได้ออก พระราชกำหนดการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2540 จัดตั้ง “องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน หรือ ปรส.” (Financial Secter Restructuring Authority: FRA) ในวันที่ 27 ตุลาคม 2540 2. รัฐบาล พล.อ.ชวลิต แต่งตั้งคณะกรรมการ “ปรส. ยุคชวลิต” โดยมี นายธวัชชัย ยงกิตติกุล เป็น ประธาน ปรส. ชุดแรก ในวันที่ 27 ตุลาคม 2540 3. รัฐบาล พล.อ.ชวลิต ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2540 4. พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกรัฐมนตรีด้านการต่างประเทศในสมัยรัฐบาลชวลิต และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดตั้ง ปรส. แต่อย่างใด 5. พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2540 เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อการลอยตัวค่าเงินบาท กล่าวคือ “ปรส. ยุคชวลิต” ได้สิ้นสุดลงหลังจัดตั้งกองทุนได้เพียง 16 วันเท่านั้น 6. นายชวน หลีกภัย ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี ในสมัยที่ 2 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 (รัฐบาลชวน 2 : พ.ย. 40 – ก.พ. 44) 7. รัฐบาลชวน 2 ได้มีการสรรหาผู้เหมาะสมเข้ามาเป็นประธาน ปรส. แทน นายธวัชชัย ยงกิตติกุล ที่ลาออก โดยนายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในขณะนั้น เป็นผู้ทาบทาม นายอมเรศ ศิลาอ่อน 8. รัฐบาลชวน 2 ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการ “ปรส. ยุคชวน” โดยมี นายอมเรศ ศิลาอ่อน เป็นประธาน ปรส. และนาย วิชรัตน์ วิจิตรวาทการเป็นเลขาธิการ ในวันที่ 23 ธันวาคม 2540 ซึ่งภายหลังนายวิชรัตน์ มีปัญหาเรื่องคุณสมบัติ จึงมีการแต่งตั้ง นายมนตรี เจนวิทย์การ เป็นเลขาธิการ ปรส. แทน 9. “ปรส. ยุคชวน” แต่งตั้งโดยรัฐบาลชวน2 สั่งปิดกิจการถาวร 56 สถาบันการเงิน 10. “ปรส. ยุคชวน” แต่งตั้งโดยรัฐบาลชวน 2 ดำเนินการนำสินทรัพย์ 56 สถาบันการเงิน ประมูลขายแบบ “เหมาเข่ง” ในราคา “เลหลัง” กล่าวคือสินทรัพย์ที่นำไปประมูลขายทอดตลาด ได้รับการประเมิณว่ามีมูลค่า สูงถึง 851,000 ล้านบาท ถูกขายทอดตลาดไปเพียง 190,000 ล้านบาท เท่านั้น 11. รัฐบาลชวน 2 ตราพระราชกฤษฎีกา 2 ฉบับ เพื่องดเว้นภาษีแก่ผู้ซื้อสินทรัพย์ที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มทุนต่างประเทศ และ ยกเว้นภาษีให้กองทุนรวมฯ เอื้อประโยชน์ให้ฝ่ายซื้อ ใช้กองทุนรวมฯ (กองทุนต่างชาติ) ที่ไม่มีสิทธิเข้าประมูล เข้ามาใช้สิทธิ์ได้รับยกเว้นภาษีฯ สรุปแล้วงานนี้ ถ้าพิจารณาจาก 11 ข้อเท็จจริงนี้ ใครเกี่ยวไม่เกี่ยว ก็คงต้องใช้ “วิจารณญาณ” อ่านกันดูเองนะคะ http://www.matiชั่ว.hell/
KhunTeenoy A Jinมองต่างเรื่องยังพอทำใจยอมรับความคิดกันได้ แต่มองต่างความจริงแท้ คงต้องอาศัยเมตตาแผ่ส่วนบุญไปให้ แล้วได้แต่หวังว่า เกิดชาติหน้า อย่าได้พบได้พานคนประเภทนี้อีกเลยยยยยย ....สาธุ สาธุ สาธุ KhunTeenoy A Jinเมื่อ 19 พ.ย. น.ส.ชยิกา วงศ์นภาจันทร์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว Sand Wongnapachant ข้อความดังนี้ เป็นวิวาทะกันมาร่วมอาทิตย์กว่าสำหรับ กรณี องค์การเพื่อการปฏิรูปและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน : ปรส. ระหว่างฝ่ายสนับสนุนพรรคเพื่อไทย และ พรรคประชาธิปัตย์ ถึงขั้น “สอนมวย” กันเลยทีเดียว แต่ที่แน่ๆ งานนี้เห็นทีจะไม่พ้นยุทธศาสตร์ “โบ้ยทักษิณ” อีกแล้ว วันนี้ จึงขอนำเสนอ “ความจริง” ที่พรรคประชาธิปัตย์ไม่เคยกล่าวถึงเพื่อความชัดเจนดังนี้ ตอบ ทำไมไม่ตั้งข้อสังเกตุกรณีล่าสุดเกี่ยวกับ ปรส. ที่ ป.ป.ช.เพิ่งตัดสินไปเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 ว่า มนตรี เจนวิทย์การ เลขา ปรส. เอื้อประโยชน์ให้กับ เกียรตินาคิน ซึ่งเป็นบริษัทของ ภรรยาพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาล (ยิ่งลักษณ์1 จากการเลือกตั้งปี2554) ในการประมูลสินทรัพย์ของ ปรส. แต่กลับมีความพยายามโบ้ยความผิดมาที่พรรคประชาธิปัตย์ทั้งๆที่วิกฤติก็เกิดมาจากการบริหารแผ่นดินที่ผิดพลาดของรัฐบาลชวลิตที่มีทักษิณเป็นรองนายกฯ และบริษัทเอกชนทีได้ประโยชน์จากการขายทรัพย์สินของปรส. ก็คือ บริษัทเกียรตินาคินของภรรยาพงศ์เทพ เทพกาญจนา ???? (ดูตารางที่ 3) 7 hrs · Like · 2 KhunTeenoy A Jin1. รัฐบาล พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2539-2540) ได้ออก พระราชกำหนดการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2540 จัดตั้ง “องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน หรือ ปรส.” (Financial Secter Restructuring Authority: FRA) ในวันที่ 27 ตุลาคม 2540 ตอบ : วันที่ผิดครับ รัฐบาลประกาศพระราชกําหนด 6 ฉบับ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2540 เพื่อแก้ไขปัญหาสถาบันการเงินดังกล่าว หนึ่งในพระราชกําหนดที่ประกาศมีพระราชกําหนดการปฏิรูประบบสถาบัน การเงิน พ.ศ. 2540 (ดู ภาคผนวก ก) รวมอยู่ด้วย ซึ่งให้อํานาจในการจัดตั้งองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.) เพื่อ ทําหน้าที่กํากับดูแลสถาบันการเงินที่ถูกระงับการดําเนินกิจการ 58 แห่ง โดยประกาศในพระราชกิจจา นุเบกษาเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2540 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2540 ซึ่งถือว่าเป็นผลงานชิ้นโบว์ดำของพล.อ. ชวลิตที่มี พ.ต.อ ทักษิณ เป็นรองนายกฯ 2. รัฐบาล พล.อ.ชวลิต แต่งตั้งคณะกรรมการ “ปรส. ยุคชวลิต” โดยมี นายธวัชชัย ยงกิตติกุล เป็น ประธาน ปรส. ชุดแรก ในวันที่ 27 ตุลาคม 2540 ตอบ: ถูกต้องครับ 3. รัฐบาล พล.อ.ชวลิต ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2540 ตอบ: ถูกต้องครับ แต่ได้ลงนามผูกผันประเทศไทยกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)ไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว 4. พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร เป็นรองนายกรัฐมนตรีด้านการต่างประเทศในสมัยรัฐบาลชวลิต และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดตั้ง ปรส. แต่อย่างใด ตอบ : ไม่จริงครับ พ.ต.ท.ทักษิณ อยู่ในคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีซึ่งมี พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นรองนายกฯเห็นชอบให้ออกพระราชกำหนดการปฎิรูประบบสถาบันการเงินหรือ ปรส. 7 hrs · Like · 3 KhunTeenoy A Jin5. พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2540 เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อการลอยตัวค่าเงินบาท กล่าวคือ “ปรส. ยุคชวลิต” ได้สิ้นสุดลงหลังจัดตั้งกองทุนได้เพียง 16 วันเท่านั้น ตอบ : บอกความจริงไม่หมดครับ พล .อ.ชวลิตไม่ได้ลาออกเพื่อแสดงความรับผิดชอบ แต่บริหารประเทศจนพังคามือ ก็เลยถูกกดดันจนต้องลาออก และทิ้งมรดกบาบให้รัฐบาลประชาธิปัตย์มาบริหารต่อ "เมื่อไทยเราโดนโจมตีค่าเงินบาทจากพ่อมดการเงิน จอร์จ โซรอส และกองทุนเฮดฟันจ์ ทั้งหลาย รัฐบาลชวลิตและธนาคารแห่งประเทศไทย พยายามใช้ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศรักษาค่าเงินบาทให้คงที่ จนเงินทุนสำรองระหว่างประเทศเกือบหมด จนต้องลอยตัวค่าเงินบาทนั้น ซึ่งถือเป็นการบริหารการเงินการคลังที่ผิดพลาดอย่างรุนแรงที่สุดของรัฐบาลชวลิต คือแทนที่จะค่อย ๆ ประกาศลดค่าเงินบาทลงเรื่อย ๆ เพื่อลดภาระทางการคลังรัฐบาลในการปกป้องค่าเงินบาทจากการถูกโจมตีจากนักค้าเงินต่างชาติ แล้วค่อย ๆ ลอยตัวค่าเงินบาทในที่สุด แต่เมื่อเงินแทบหมดคลัง จนรัฐบาลชวลิตต้องประกาศลอยตัวค่าเงินบาทเมื่อสายเกินไปแล้ว ทำให้หนี้เงินกู้จากต่างประเทศที่รัฐบาลไทย สถาบันการเงินต่างๆ ไปกู้มา หรือที่คนไทยเป็นหนี้จากการซื้อขายสินค้าจากต่างประเทศ ก็เพิ่มขึ้นไปกว่า 2 เท่า เพราะค่าเงินบาทเคยอ่อนตัวลงสูงสุดที่ 56 บาท/ดอลล่าห์สหรัฐ" ก็เลยทำให้ประเทศไทยต้องไปกู้ไอเอ็มเอฟ และได้เกิด ปรส. (องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน) ขึ้นมาในสมัยรัฐบาลชวลิต ที่มีรองนายกรัฐมนตรีที่ชื่อทักษิณ ชินวัตร และปรส. ยุคชวลิตไม่ได้ยุติวันที่ พล อ.ชวลิตลาออก เพราะกฎหมายมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคม 2540 เป็นต้นมา ไม่ว่ารัฐบาลไหนเข้ามา ก็ต้องเดินตามกรอบที่กฎหมายได้กำหนดไว้ 6. นายชวน หลีกภัย ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี ในสมัยที่ 2 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 (รัฐบาลชวน 2 : พ.ย. 40 – ก.พ. 44) ตอบ ถูกต้องครับ 7. รัฐบาลชวน 2 ได้มีการสรรหาผู้เหมาะสมเข้ามาเป็นประธาน ปรส. แทน นายธวัชชัย ยงกิตติกุล ที่ลาออก โดยนายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในขณะนั้น เป็นผู้ทาบทาม นายอมเรศ ศิลาอ่อน ตอบ ถูกต้องครับ 8. รัฐบาลชวน 2 ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการ “ปรส. ยุคชวน” โดยมี นายอมเรศ ศิลาอ่อน เป็นประธาน ปรส. และนาย วิชรัตน์ วิจิตรวาทการเป็นเลขาธิการ ในวันที่ 23 ธันวาคม 2540 ซึ่งภายหลังนายวิชรัตน์ มีปัญหาเรื่องคุณสมบัติ จึงมีการแต่งตั้ง นายมนตรี เจนวิทย์การ เป็นเลขาธิการ ปรส. แทน ตอบ ถูกต้องครับ 7 hrs · Like · 3 KhunTeenoy A Jin9. “ปรส. ยุคชวน” แต่งตั้งโดยรัฐบาลชวน2 สั่งปิดกิจการถาวร 56 สถาบันการเงิน ตอบ อันนี้ให้ข้อมูลครึ่งเดียวครับ เพราะรัฐบาลชวลิต ที่มีทักษิณเป็นรองนายกฯ เป็นผู้สั่งปิดกิจการชั่วคราว 58 สถาบันการเงิน ตั้งแต่กลางปี 40 และมีเพียง 2 สถาบันการเงินที่ผ่านแผนการฟื้นฟู ทำให้สถาบันการเงิน 56 แห่งถูกสังปิดถาวรในเวลาต่อมา อย่าพยายามโยนบาบที่ตัวเองก่อให้คนอื่นโดยการให้ข้อมูลแค่ครึ่งเดียว การที่สถาบันการเงินเหล่านั้นถูกสั่งปิดชั่วคราวตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน 2540 ล่วงเลยมาจนถึงช่วงเดือนธันวาคม 2540 ยังไงก็ไม่มีทางรอด อย่ามาสร้างวาทะกรรมหลอกประชาชน โดยใช้ข้อมูลครึ่งเดียวเลยครับ ข้อเท็จจริง ปี พ.ศ. 2540 เป็นปีซึ่งประเทศไทยประสบวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ โดยมีเหตุปัจจัยหลายประการ อาทิเช่น ปัญหาการหดตัวทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ปัญหาทุนสํารองระหว่างประเทศลดตํ่าลงมากจนค่าเงิน บาทอ่อนตัวและผันผวน ซึ่งเมื่อค่าเงินอ่อนลงก็จะเพิ่มภาระหนี้สินของประเทศ ปัญหาการดําเนินนโยบาย เศรษฐกิจที่ไม่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการหดตัวทางเศรษฐกิจ เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวเกี่ยวพันโดยตรง กับปัญหาความมั่นคงของสถาบันการเงิน ซึ่งการณ์ก็ปรากฎว่า ในกลางปี 2540 รัฐบาลชวลิตได้ประกาศระงับการ ดําเนินกิจการของบริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ 16 แห่งเป็นการชั่วคราวเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2540 ต่อมากระทรวงการคลังโดยคําแนะนําของธนาคารแห่งประเทศไทยก็ได้สั่งระงับการดําเนินกิจการของ สถาบันการเงินเพิ่มเติมอีก 42 แห่ง เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2540 รวมทั้งหมดเป็น 58 แห่ง รัฐบาลชวลิตมีความจําเป็นที่ต้องเข้าไปแก้ไขฟื้นฟูฐานะของสถาบันการเงินที่มีปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดต้ังองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.) เพื่อทําหน้าที่กํากับดูแลสถาบันการเงินที่ถูกระงับ การดําเนินกิจการทั้ง 58 แห่ง เพื่อให้ความคุ้มครองแก่ผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้สุจริต รวมทั้งการชําระบัญชีของ สถาบันการเงิน และการที่รัฐบาลชวลิตได้ลงนามผูกพันประเทศไทยกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ทำให้รัฐบาลต่อมาต้องทำตามข้อจํากัดที่ได้ตกลงตามหนังสือแสดงเจตจํานงที่รัฐบาลไทยได้ทําไว้กับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ทําให้ ปรส. ต้องพิจารณาแผนการฟื้นฟูให้แล้วเสร็จภายในวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2540 และประกาศผลการพิจารณาในวันท่ี 7 ธันวาคม 2540 ผลก็คือสถาบันการเงินที่รัฐบาลชวลิตสั่งปิดชั่วคราว 58 แห่ง มีเพียงแค่ 2 แห่งเท่านั้นที่สามารถยื่นแผนฟื้นฟูผ่านได้
KhunTeenoy A Jin10. “ปรส. ยุคชวน” แต่งตั้งโดยรัฐบาลชวน 2 ดำเนินการนำสินทรัพย์ 56 สถาบันการเงิน ประมูลขายแบบ “เหมาเข่ง” ในราคา “เลหลัง” กล่าวคือสินทรัพย์ที่นำไปประมูลขายทอดตลาด ได้รับการประเมิณว่ามีมูลค่า สูงถึง 851,000 ล้านบาท ถูกขายทอดตลาดไปเพียง 190,000 ล้านบาท เท่านั้น ตอบ นี่ก็คือการบิดเบือนข้อมูล เพื่อนำมาปลุกระดมให้ประชาชนเกิดความเข้าใจผิด 1) คำว่า 873,973.81 ล้าน คือสินทรัพย์ อันหมายถึงหนี้ (สินทรัพย์หลัก)และหลักทรัพย์ที่ใช้ประกัน(สินทรัพย์รอง) ไม่ใช่เฉพาะทรัพย์สิน ซึ่งหนี้บางส่วนไม่มีแม้แต่หลักทรัพย์ค้ำประกัน และหากมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน ส่วนใหญ่ก็เป็นหลักค้ำประกันที่ต่ำกว่ามูลค่าของหนี้หลายเท่าตัว พูดง่ายๆมันก็คือ มูลค่าหนี้พร้อมหลักประกันของสถาบันการเงินและบริษัทหลักทรัพย์ที่เจ๊งทั้ง 56 บริษัทในวิกฤติต้มยำกุ้งไงครับ ซึ่งมูลค่าจริง ๆ ไม่ถึง 8 แสนล้านบาท แต่ที่อ้างแปดแสนล้านบาท คือมูลค่าสินทรัพย์ทางบัญชีเดิมอันได้แก่ สินทรัพย์หลักคือหนี้ และสินทรัพย์รองอันได้แก่ทรัพย์สินที่บริษัทพวกนี้ถือครอง เช่น มูลค่าที่ดินที่บริษัทพวกนี้ถือครองก่อนการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี 40 ซึ่งมันราคาสูงเว่อร์ จากกระแสเก็งกำไรอสังหาริมทรัพย์จนเกิดฟองสบู่เศรษฐกิจ แต่พอเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ 40 แล้ว สินทรัพย์เดิมมันก็กลายเป็นหนี้เน่าเสียส่วนใหญ่ มูลค่าตัวเลขหลักทรัพย์เดิมที่ใช้ค้ำประกัน ราคามันก็ตกลงไปกว่านั้นมากมายแล้ว เช่นที่ดินก่อนวิกฤติต้มยำกุ้งมีราคา 1 ล้านบาท แต่พอเกิดวิกฤติต้มยำกุ้งแล้ว ที่ดินที่เดิมก็เหลือราคาแค่ 3 แสนบาทเท่านั้น เหมือนกรณีตัวอย่าง ธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ(BBC) เจ๊งนั่นแหละ ที่พวกผู้บริหารธนาคารปล่อยกู้ 5 ล้านบาทให้พรรคพวกตัวเอง กับหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้เป็นที่ดินแค่ 5 แสนบาทเท่านั้น เหตุการณ์หนี้เน่า ๆ มากมายแบบ ธ.BBC ก็เกิดขึ้นในบริษัทหลักทรัพย์ทั้ง 56 บริษัทเช่นกัน ดังนั้นที่มันอ้างมูลค่า ปรส. 8 แสนล้าน คือมูลค่าหลักทรัพย์ 56 บริษัทก่อนเกิดต้มยำกุ้งบวกกับหนี้เน่าที่บริษัทพวกนี้ก่อขึ้น แถมพอเกิดวิกฤติต้มยำกุ้งขึ้น จากเดิมค่าเงินบาทต่อดอลล่าร์สหรัฐฯ อยู่ที่ 25 บาทต่อดอลล่าห์ ก็กลายเป็น 50 กว่าบาทต่อดอลล่าห์ มูลค่าหนี้เน่าที่บริษัทหลักทรัพย์พวกนี้กู้เงินมาจากต่างประเทศที่ดอกเบี้ยถูกกว่า แล้วมาปล่อยกู้ให้หนี้เน่า ๆ ในไทย พอเกิดวิกฤติต้มยำกุ้งขึ้นมา หนี้ต่างประเทศมันเลยพุ่งขึ้นกว่า 2 เท่า ตัวเลขหนี้มันก็เลยพุ่งขึ้น 2 เท่าตามไปด้วย มูลค่าหนี้เน่ารวมสินทรัพย์เดิมก็เลยสูงขึ้นไปจนมีมูลค่ารวม 8 แสนล้านบาท แปลง่าย ๆ คือ หนี้ดีเช่นสินทรัพย์ที่บริษัทพวกนี้ถือครองมีมูลค่าลดลงมากกว่าเดิม กว่า 2 เท่า แต่หนี้เน่าที่บริษัทพวกนี้ก่อไว้กลับมูลค่าพุ่งสูงขึ้นกว่าเดิมไม่ต่ำกว่า 2 เท่า ถามว่า มีหนี้เน่า 8 แสนล้าน คุณจะขายทรัพย์สินนั้นให่ได้ 8 แสนล้านบาท มันจะเป็นไปได้ยังไง เพราะมันคือหนี้เน่าไงครับ เปรียบเสมือน คุณไปกู้เงินมาทำกิจการนับร้อยล้านบาท สุดท้ายบริษัทคุณเจ๊งนับพันล้านบาท ถามว่า เอาสินทรัพย์ของบริษัทของคุณไปขายทอดตลาด แล้วมันจะได้ทรัพย์มากถึงพันล้านบาทได้ยังไง เพราะมันคือหนี้เน่า KhunTeenoy A Jinดังนั้น วาทะกรรมเท็จ คดี ปรส. 8 แสนล้านบาท จึงเป็นวาทะกรรมเท็จที่เอามาหลอกคนที่ไม่รู้เรื่อง เพราะการขายหนี้เน่าได้เงินมาขนาดนีั เมื่อเอามาเปรียบเทียบกับประเทศอื่นที่ประสพปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจเช่นเกาหลีใต้ และอินโดนีเซีย(ตารางที่ 1) ซึ่งใช้วิธีการประมูลขายเหมือนเรา ก็ถือว่าใช้ได้ทีเดียว นอกจากนี้ การที่การกล่าวหาว่าเอาทรัพย์สินไปขาย แปดแสนกว่าล้านบาท แต่ได้กลับมาแค่ 190,000 ล้านบาทนั้น ก็เป็นการให้ข้อมูลเท็จ เพราะข้อเท็จจริงคือเอาสินทรัพย์ซึ่งหมายถึงหนี้และหลักประกันที่นำไปขาย ไมได้แยกเอาเฉพาะทรัพย์สินไปขาย เพราะถ้าแยกเอาทรัพย์สินไปขาย ยิ่งเละไปกว่านี้ และก็ทำไม่ได้เพราะมันโยงใยไปกับหนี้ สินทรัพย์ที่นำไปขายนั้นไม่ใช่ แปดแสนกว่าล้านนะครับ ที่เอาไปขายคือ 748,091.78 ล้านบาท และได้คืนมา 264,093.99 เพราะอีก 120,868.05 แสนล้านบาทนั้นเป็นหนี้ที่ต้องบังคับคดีตามคำพิพากษาและลูกหนี้ที่อยู่ระหว่างการดำเนินคดี จึงไม่ได้นำไปขายในขณะนั้น (ดูตารางที่ 2) และการที่พยายามสร้างวาทะกรรมทำนอง ขายเหมาเข่ง แบบเลหลัง เป็นการบิดเบือน เพราะถ้าขายวิธีอื่นย่อมผิดกฎหมาย เนื่องจากมาตรา 30 แห่ง พ.ร.ก.การปฏิรูปสถาบันการเงิน กําหนดใหปรส. ต้องขายสินทรัพย์ด้วยการประมูลอย่างเปิดเผยหรือการแข่งขันราคาตามวิธีการที่คณะกรรมการ กําหนดเท่านั้น - ไม่ต้องการให้เกิด Moral Hazard ในหมู่ลูกหนี้ เพราะอาจชักนําให้ลูกหนี้ที่ดีที่ชําระหนี้ ตามปกติเต็มจํานวนหันมาเบี้ยวหนี้จนกลายเป็นหนี้เสีย แล้วค่อยมาประมูลซื้อหนี้ตัวเองในราคาต่ํา ทั้งๆที่มีความสามารถในการชําระหนี้ได้ จากการที่ไม่มีสถาบันการเงินที่ดําเนินกิจการตามปกติใด ใช้วิธีดังกล่าว รวมถึงสถาบันการเงินในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา เกากลีใต้ และจีน เป็นต้น ก็ ไม่ได้ใช้วิธีดังกล่าวแต่ใช้รูปแบบการประมูลแทน - ไม่สามารถกําหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาขายลดหนี้ให้ลูกหนีโดยตรงได้อย่างชัดเจน ทํา ให้เสี่ยงต่อการถูกเจ้าหนี้ฟ้องร้อง - อาจเปิดช่องให้มีการทุจริตของเจ้าหน้าที่ที่เป็นผู้พิจารณาลดหนี้ให้ลูกหนี้ได้รวมทั้ง สัญญาที่มีเป็นจํานวนมาก การเข้าไปดูแลตรวจสอบไม่สามารถกระทําได้อย่างใกล้ชิด 11. รัฐบาลชวน 2 ตราพระราชกฤษฎีกา 2 ฉบับ เพื่องดเว้นภาษีแก่ผู้ซื้อสินทรัพย์ที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มทุนต่างประเทศ และ ยกเว้นภาษีให้กองทุนรวมฯ เอื้อประโยชน์ให้ฝ่ายซื้อ ใช้กองทุนรวมฯ (กองทุนต่างชาติ) ที่ไม่มีสิทธิเข้าประมูล เข้ามาใช้สิทธิ์ได้รับยกเว้นภาษีฯ ตอบ เนื่องจากมีหนี้เน่าจำนวนมาก ก็มีความจำเป็นที่ต้องสร้างแรงจูงใจให้กองทุนเหล่านี้มาซื้อหนี้เน่า เพื่อสนับสนุนการทำงานของปรส. จึงมีความจะเป็นที่ต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกาขึ้นมา สรุปแล้วงานนี้ ถ้าพิจารณาจาก 11 ข้อเท็จจริงนี้ ใครเกี่ยวไม่เกี่ยว ก็คงต้องใช้ “วิจารณญาณ” อ่านกันดูเองนะคะ ตอบ สรุปแล้วพิจารณาใครมั่วใครจริง ใครเกี่ยวใครไม่เกี่ยว และใครตั้งใจบิดเบือนเพื่อหวังผลทางการเมือง คงจะเห็นแล้วนะครับ เครดิต/ เอกเมืองใหม่ / สินาด ตรีวรรณไชย
ใช่แล่ว สลิ่มมันจะรู้มั้ยว่ายิ่งคดีใกล้จะหมดอายุความตัวเลขความเสียหายก็จะยิ่งมากขึ้น ไอ้ตู่บอกเสียหาย ๗ แสนล้าน ไอ้โอ๊คบอก ๘ แสนล้าน น้องทรายอึ่งอ่างสรุป ๘.๕ แสนล้าน
ควายแดงแต่ละตัว มันความจำสั้น สมองหมา ปัญญาควาย หรือนี่ จำนวนค่าเสียหาย มันถึงได้เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาขนาดนี้ เห็นแป๊บๆ บอกว่า เสียหาย 6 แสนล้าน สงสารพ่อแม่พวกควายแดงนะครับ ตอนคลอดเนี่ย ไม่ได้กินอาหารเหมือนคนปกติ กินแต่หญ้า ลูกออกมาเลยไม่เต็มบาทสักกะตัว
5555 มันเกิน 3 บรรทัด ก็ไม่ต้องอ่านแล้ว เพราะ คุยกันมาไม่รู้กี่ปี่ อีนี่มันโง่เป็นหุ่นยนต์เหมือนทีปลักควายราชดำเนิน เขียนซ้ำไปวนมา ข้อมูลเค้าชี้แจงกันไปถึงไหน ก็ยังโง่วนเวียนอยู่กับความคิดเดิม ๆ เห็นใจเอ็งเหมือนกันน๊ะ รู้ก็ทั้งรู้ ว่าอีนี่กับพวกปลักควายราชดำเนินมันเป็นโรคสมองกลวง ยังต้องเชียร์มัน
โคตรเหง้าตระกูลนี้ ต้องยอมรับในความตอแหล บิดเบือนข้อมูล เพื่อเอาตัวรอดจริงๆ แห่กันออกมาเล่นเรื่อง ปรส เพื่อกลบข่าวข้าวเน่า ที่ทำเสียหายไว้ ตระกูลนี้ มันจะไม่ใครผ่าเหล่า ผ่ากอ เป็นคนกับเขาบ้างเลยหรือ จะให้เขากร่นด่า ทั้งโคตรว่าเลวได้ทุกตัว ยังงั้นสิ
แล้วอันนี้ที่เกิน 3 บรรทัดแน่นอน จขกท. จะอ่านรึป่าว ข่าวจาก "มติชิน" เลยนะเนี่ย http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1330591091
เฮ่อ โล่งเลย จบซะที สรุปว่าไม่เกี่ยวกะ ปปช. ไม่เกี่ยวกะ กปปส. ไม่เกี่ยวกะประยุทธ ก็แค่เกี่ยวกะชวลิต ทักษิณ ประชาธิปัติ ฮี่ๆ ทะเลาะกันอีกตลอดชีวิต ฮ่าๆ ไม่ทันฟ้อง
มุกนี้ มันเหมือนกลยุทธ์สงครามอย่างนึงนะครับ ประเภท ปล่อยตัวล่อออกไปให้อีกฝ่ายระเริงดักจับไล่จับกัน แล้วโอบล้อมตลบหลัง เสื้อแดงขนเรื่อง ปรส ด้วยจำนวนหนี้ที่สับสนไปมาเสียด้วยซ้ำ แสดงให้รู้ว่า ชุดข้อมูลไม่มี มีแต่ฟังตามเค้ามา ไม่มีใครมาอธิบายรายละเอียดใดๆ เลยได้เห็นแค่ชุดตัวเลขแปดแสนกว่าล้าน กับแสนกว่าล้าน ก็เล่นกันได้สนุกสนาน เหมือนอย่างที่นายเวรเอามาแก้เกมแกมให้ข้าวเน่านี่ พวกกูผิด พวกมึงก็ผิดไปไม่น้อยนะเออ ถูกตีตลบหลังไปแบบนี้ จะว่ายังไงล่ะ ไอ้...เวร
เห็นอีโอ๊ค และพวกเสื้อแดงเรียกร้องให้เอาคดีกลับมาทำใหม่ ใครผิดใครถูก ให้ไปว่ากันในศาล ถ้าเขาฟ้อง ครม บิ๊กจิ๋วทั้งคณะ ที่มีไอ้แม้วอยู่ใน ครม ด้วย ต้นเหตุในการบริหารงานผิดพลาด จนทำให้เกิด ปรส เนี่ย ไอ้แม้วจะกลับมาขึ้นศาลมั้ยครับ
ผมว่าเคลียร์นะ ข้อกล่าวหาของหนูอึ่ง กับข้อหักล้างของ เอกเมืองใหม่ / สินาด ตรีวรรณไชย เห็นภาพชัดๆ เข้าใจได้ ที่เหลือเราควรสนับสนุนให้หาคนผิดดีกว่า แต่ก็แหละนะสำหรับคนบางจำพวก หาคนผิดเจอแล้ว ก็ไม่แคล้วโทษศาลลำเอียง โทษคนอื่นอีกเหมือนเดิม
ยัยหน้าอึ่งอ่างนี่ก็มาอีหรอบเดียวกับ ยัยเต่านาจัญไรนั่นแหละ .... ที่สงสัยในสิ่งที่มีคำตอบไว้อยู่แล้ว แต่ตัวเองดันโง่เกินกว่าจะค้นหาเจอ
มันโกหก จนคิดว่าเรื่องโกหกของพวกมันเป็นเรื่องจริงไปแล้ว เพราะมันมีควายแดงเชื่อทุกอย่าง มันถึงได้อยากจะโกหกอะไร มันก็โกหกได้อย่างหน้าด้านๆ
ยาวเกินสามบรรทัด ควายแดงลูกกะหรี่จะอ่านเรอะเนี้ย ยิ่งพากันฉลาดๆทั้งนั้น ถ้ามรึงอ่านเกิน3บรรทัดจะรู้ว่าจขกท.เค้าไม่ใช่พวกมรึง แหม่ ทำอย่างกับเค้าเป็นควายแดงเพื่อนมรึงไปได้
เห็นด้วยให้รื้อคดีลอยตัวค่าเงินบาทจนประเทศพังมาพิจารณาคดีใหม่ใครผิดให้ชดใช้ ไม่ใช่ลาออกหนีความรับผิดชอบ ไอ้จิ๋วลอยตัวค่าเงินบาทประเทศชาติพัง แต่ไอ้แม้วกลับรวยเพียงข้ามคืน ไม่งั้นก็บริหารประเทศกันแบบไม่รับผิดชอบ บริหารประเทศจนเงินหมดคลังก็ช่างประไรไม่ใช่เงินในกระเป๋ากู....แบบนี้เขาเรียกพวกนรกมาเกิดมาเพื่อทำลาย
ถ้าชอบแต่ มติชิน ก็ลองอ่านดู กับความไม่ชอบมาพากลลดค่าเงินบาท คำพิพากษาฎีกา-บันทึกสภา ไขความลับ"ไอ้โม่ง!" ฟันค่าเงินบาท สายสัมพันธ์"โภคิน-ทักษิณ" ?
เรื่องนี้ข้อเท็จจริงเป็นที่ปรากฎมานานแสนนานแล้ว ไม่ใช่แค่จากค่ายชินวัตรหรือปชป. สังคมมีแหล่งข้อมูลข่าวสารอีกมากมายไม่เห็นต้องมารับรู้จากแค่สองแหล่งนี้ ใครผิด ใครถูก ใครก่อ ใครโกง วิญญูชนเขาทราบกันมานานแล้ว ไม่ต้องมาพึ่งพาอาหมวยที่ตอนปี40เข้าโรงเรียนหรือยังก็ไม่รู้ เรื่องข้อมูลไม่พูดกันละ รู้กันอยู่แล้ว แต่ผมมีอคติกับ"look"ของคน เช่นถ้าคนหน้าตาอย่างนายนภดล ปัทมะ เด็จพี่ ชูวิทย์ หมวดร่าน จ่าเหลิม ฯลฯ ออกมาแถลงอะไร ผมประมาณไว้จากหน้าตาก่อนว่าโกหก อาหมวยนี่ก็หน้าตาพิกล ดูสวยแบบลูกสาวเสธ แดงยังไงไม่รู้
ลูกสาวคุณเยาวเรศ ชินวัตร น้องรักของทักษิณที่เค้าอุตสาห์ยกตำแหน่งสภาสตรีทั้งๆที่ไม่เคยได้ยินผลงาน (จริงๆน่ายกให้คุณปู ไม่ก็เจ๊แดงมากกว่า).....เค้าคงจะมาด่าลุงเค้าให้เราฟังมั้ง
เอา "คนหนีคำตัดสิน" กับ "คนไม่โดนคดี" มาเทียบกัน ถ้าไม่ใช่พวกกาสรสีชาดไม่มีหมาที่ไหนคิดเรื่องนี้ได้จริงๆ