เพราะ ปรส เป็นอิสระ รัฐบาลในขณะนั้นไม่สามารถก้าวก่ายการดำเนินการของ ปรส โดย ปรส. มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ มีอำนาจเบ็ดเสร็จในการดูแล บริหารสินทรัพย์ที่รวมมาจากสถาบันการเงินที่ถูกระงับการดำเนินกิจการ ตามกฏหมายที่ออกโดยรัฐบาลเชาวลิต ความเสียหายแปดแสนล้านนั้นก็คือ ผลงานของรัฐบาลพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ, ดร.วีรพงษ์ รามางกูร, ทักษิณ ชินวัตร และทนง พิทยะ ที่ร่วมกันบริหารประเทศจนล้มละลาย ต้องเอาประเทศเข้า IMF เมื่อประเทศเข้า IMF ทำให้การขายสินทรัพย์ไม่สามารถได้ราคาดีเต็ม 100% เพราะมีความเสี่ยงของหนี้ที่อาจมีการเพิ่มเป็นหนี้เสียจากความสามารถในการชำระของลูกหนี้ที่อาจย่ำแย่ลดลงในภาวะเศรษฐกิจที่ล้มละลาย จากการบริหารงานของรัฐบาลพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ, ดร.วีรพงษ์ รามางกูร, ทักษิณ ชินวัตร และ ทนง พิทยะ ที่ร่วมกันบริหารประเทศจนล้มละลาย เป็นเหตุผลหลักที่ทำให้ขายสินทรัพย์ได้เงินมาขาดหายไป 8 แสนล้านบาท หมายเหตุ ปรส. หรือชื่อเต็มคือ องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน รัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (ที่มีทักษิณเป็นรองนายกรัฐมนตรี) เป็นผู้ออกพระราชกำหนดการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน 2540 เริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2540 ทำให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ ปรส. ชุดแรกขึ้น เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2540 โดยให้ความสำคัญกับการแก้ไขฟื้นฟูฐานะของบริษัทที่ถูกระงับการดำเนินกิจการ เป็นอันดับแรก โดย ปรส. มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ มีอำนาจเบ็ดเสร็จในการดูแลบริษัทเงินทุนที่ถูกระงับการดำเนินกิจการ หรือดูแลจัดการ บริหาร สินทรัพย์สถาบันการเงิน 56 แห่ง ที่ถูกสั่งปิด สรุปง่ายๆ ความเสียหายแปดแสนล้านนั้นก็คือผลงานชิ้นโบว์แดงของรัฐบาลพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ, ดร.วีรพงษ์ รามางกูร, ทักษิณ ชินวัตร และทนง พิทยะ ที่ร่วมกันบริหารประเทศจนล้มละลาย ต้องเอาประเทศเข้า IMF เพื่อขอกู้เงินมาใช้หนี้ระยะสั้น ทำให้ IMF เข้าควบคุมการเงินของประเทศ นำไปสู่การปิดสถาบันการเงิน และการตั้ง ปรส. และทำให้ปรส. ไม่สามารถขายหนี้ได้เท่ากับจำนวนหนี้ จนขาดทุนไปแปดแสนล้าน ไอ้หน้าตัวเมียนักโทษหนีคดีหนีคุกทักษิณ ลูกสมุน และเสื้อแดงควายแดงพยายามบิดเบือนมาตลอด ขอย้ำอีกครั้ง ความเสียหายแปดแสนล้าน เพราะรัฐบาลชวลิตเป็นคนทำ ไม่ใช่ความผิดของปรส. ปรส.มีความผิดก็ตามแต่คดีที่ศาลได้พิจารณาไปแล้ว ในการเอื้อประโยชน์ให้เอกชนที่มาประมูล สามารถประมูลได้สะดวก และรัฐบาลประชาธิปัตย์โดยนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ที่มีนายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ รัฐมนตรีคลัง ที่เป็นผู้กอบกู้วิกฤต ฟื้นคืนความเชื่อมั่นและเศรษฐกิจที่พังยับเยินกลับมาต่างหาก ไม่ใช่ไอ้หน้าตัวเมียนักโทษหนีคดีหนีคุกทักษิณ ที่บังอาจมาเคลมผลงานคนอื่นมาเป็นของตัวเอง เอาดีเข้าตัวเอาชั่วให้คนอื่น
จริง ๆ ปรส. นี่ พูดยาก เอาจริง ๆ มูลค่าหนี้มันสูงกว่ามูลค่าสินทรัพย์อยู่มากจริง ๆ ในยุคฟองสบู่ เวลากู้เงิน เค้าประเมินวงเงินกู้กันจากโครงการ สินทรัพย์ค้ำประกันไม่ใช่ประเด็นเดียวในการประเมินวงเงิน แบ็งค์เห็นว่าโครงการมีอนาคต มีความเป็นไปได้ก็ให้วงเงินสูงกว่าสินทรัพย์เป็นเท่าตัวก็มี ตอนที่หนี้โอนมาที่ ปรส. มันรวมดอกเบี้ย บางครั้งเป็นเท่าตัวหรือเกินกว่านั้นไปแล้ว เพราะดอกเบี้ยทบต้น แถมอัตราสูงลิ่วเข้าไปอีกทบไปทบมาเพิ่มเป็นหนี้เข้าไปอีกไม่รู้เท่าไหร่ หนี้จำนวนไม่น้อยก็เกิดจากการที่ค่าเงินบาทอ่อน ทำให้มูลค่าหนี้มันสูงเกินกว่าทีกู้มามหาศาล เอาเข้าจริง ยอดหนี้แปดแสนล้าน มันจะมีสินทรัพย์ที่มีมูลค่าจริง ๆอยู่ซักเท่าไหร่กันเชียว ส่วนไอ้ที่บอกขาดทุนแปดแสนล้านนั่น มันพวกสมองกลวงฟัง ๆ กันมาแล้วพูดต่อไม่ต้องใช้สมองคิด เพราะประมูลขายได้มาบางส่วน ยังไงก็ขาดทุนไม่ถึงแปดแสนล้าน แถมส่วนใหญ่ในนั้นที่ประมูลได้มาก็เป็น บบส. ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐเหมือนกัน
เข้าใจครับหลวงพี่ แค่อยากบันทึกไว้เผื่อคนอื่นที่ไม่รู้เข้ามาอ่านจะได้เข้าใจ ผมไม่หวังอะไรกะพวกบัวใต้น้ำทำร้ายทำลายประเทศชาติ แต่ผมแค่บันทึกไว้เผื่อให้คนประเภทบัวปริ่มน้ำได้มีข้อมูลที่ถูกต้อง จะได้พ้นจากน้ำ ไม่ต้องจมปลักในวังวนของคำโกหกหลอกลวง เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ซึ่งจะเป็นการทำลายโอกาสของประเทศชาติ ให้คนดีคนมีฝีมือได้เข้ามาทำงานบริหารชาติบ้านเมือง ดีกว่าให้คนเลวไร้ฝีมือต้นตอของเหตุการณ์ต้นตอของปัญหา ได้เข้ามาบริหารชาติบ้านเมืองเพื่อกอบโกย จะได้เห็นแจ้งว่าอะไรถูกต้องและไม่ถูกต้อง อะไรจริงอะไรเท็จ คนทำดีต้องมีที่ยืน ไม่ต้องก้มหน้า ไม่อยากให้เหมือนไอ้ฟักในละคร อย่างน้อยผมคนนึงที่เข้าใจ ปชป นักการเมือง เขาอาจไม่ดีเขาอาจเลว แต่ถ้าเขาทำดีทำถูกเขาทำเพื่อประเทศชาติจริงๆ ก็ควรยกย่องเขาครับ แม้เราหลายคนต้องเจ็บปวดในช่วงเวลานั้น แต่ก็ไม่ควรไปใส่ร้ายและโกหก โทษแต่พวกเขา แถมเคลมผลงานเอาดีเข้าตัวเอาชั่วให้เขา ทั้งๆที่เขาไม่ได้เป็นต้นเหตุทั้งหมดของปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งๆที่เขาทำในสิ่งถูกต้อง ณ เวลานั้น เพื่อให้เรากลับมาลืมตาอ้าปากกันได้อีกครั้ง อย่างคุณธารินทร์นี่ถึงกับเสียผู้เสียคนไปเลย ทั้งๆที่เขาเก่ง มีฝีมือ อดทนอดกลั้น โดนด่าโดนว่า แต่ถ้ามันเป็นทางที่ถูกต้อง มันก็ต้องทำ แม้จะเจ็บปวด
นายอมเรศ ศิลาอ่อนคือสามีของนางภัทรา ศิลาอ่อนเจ้าของกิจการร้านอาหารชื่อดัง ที่มีสาขาทั่วประเทศ "เอสแอนด์พี" http://www.snpfood.com/th/location/ คดีขายหนี้เน่า 56 ไฟแนนซ์ปี 2540 รอลงอาญา 3 ปี‘อมเรศ-วิชรัตน์’ โดย ฐานเศรษฐกิจ 29 August 2559 ศาลฎีกาพิพากษาปรับ 2 หมื่นบาท แต่โทษจำคุกให้รอลงอาญา 3 ปี“อมเรศ ศิลาอ่อน” อดีตประธานปรส.และ “วิชรัตน์ วิจิตรวาทการ” อดีต เลขาฯเหตุประมูลขายสินทรัพย์ปี 2540 ด้าน “มนตรี”แจงยิบศาลฎีกายืนตามศาลชั้นต้น เหตุจนท.ลงเอกสารผิดเป็น “เงินมัดจำ” ทำให้ตีความปรส.ไม่ได้เรียกเก็บเงินงวดแรกและประเด็นความเชื่อเรื่อง “ฮั้วประมูล” เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2559 ที่ห้องพิจารณา 905 ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก ศาลอ่านคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดำ อ.3344/2551 ที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีพิเศษ 4 เป็นโจทก์ ยื่นฟ้องนายอมเรศ ศิลาอ่อน อายุ 83 ปี อดีตประธานคณะกรรมการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.) , นายวิชรัตน์ วิจิตรวาทการ อายุ 69 ปี อดีตเลขาธิการ ปรส. บริษัท เลแมน บาเดอร์ส โฮลดิ้ง อิงค์ จำกัด โดยนาย ชาร์ล เจสัน รูบิน (CHARLES JASON RUBIN) ผู้รับประโยชน์ บริษัท เลแมน บาเดอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด โดยนาย ชาร์ล เจสัน รูบิน (CHARLES JASON RUBIN) ที่ปรึกษา ปรส. กองทุนรวมโกลบอลไทย พร็อพเพอร์ตี้ ผู้รับโอนสิทธิจากการประมูลสินทรัพย์ และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมวรรณ จำกัด ผู้จัดตั้ง กองทุนรวมโกลบอลไทยฯ เป็นจำเลยที่ 1 – 6 ในความผิดฐานร่วมกันกระทำผิด พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดของพนักงาน ในองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502 มาตรา 11 ทั้งนี้ นายอมเรศ อดีต ประธานปรส. ได้เดินทางมาพร้อมบุตรชายและทนายความ โดยมีนายวิชรัตน์ อดีตเลขาธิการ ปรส. เดินทางมาฟังคำพิพากษาดังกล่าว สำหรับคดีนี้อัยการโจทก์ยื่นฟ้องจำเลยเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2551 ระบุความผิดสรุปว่า (เมื่อวันที่ 2 มิ.ย. – 1 ต.ค. 41) นายอมเรศ จำเลยที่ 1ในฐานะประธาน ปรส. มีอำนาจวางนโยบายและควบคุมดูแลกิจการของ ปรส.รวมทั้งกำหนดวิธีการชำระบัญชีและขายทรัพย์สินของ 56 สถาบันการเงิน (ไฟแนนซ์เน่า) ที่ถูกระงับการดำเนินกิจการตาม พ.ร.ก.การปฏิรูประบบสถาบันการเงิน พ.ศ.2540 และนายวิชรัตน์ จำเลยที่ 2 โดยคณะกรรมการ ปรส. มีมติให้มีการจำหน่ายสินทรัพย์หลักการเช่าซื้อที่อยู่อาศัย ครั้งที่ 2 (เมื่อ 18มิ.ย.41) และวันที่ 3 กรกฎาคม 2541 ปรส. และบริษัท เลแมน บราเดอร์สฯ จำเลยที่ 3ได้ออกข้อกำหนดนโยบาย และขั้นตอนการจำหน่ายสินทรัพย์ พร้อมกำหนดวันประมูลในวันที่ 30 กรกฎาคม 2541 และปิดการจำหน่ายในวันที่ 1 กันยายน 2541 แต่เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2541 ปรส.มีมติให้เลื่อนการประมูลจากวันที่ 30 กรกฎาคม ไปเป็นวันที่ 13 สิงหาคมแทน โดยเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมนั้น ปรส.และบริษัทจำเลยที่ 3 ออกข้อกำหนดเพิ่มเติมอีกหลายประการโดยให้ผู้เสนอราคา สามารถเสนอราคาโดยให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เป็นตัวแทนผู้ซื้อได้หากกองทุนดังกล่าวสามารถจัดตั้งได้ภายในวันปิดการจำหน่ายแล้วบริษัทจำเลยที่ 3 ยื่นแบบฟอร์มขอเสนอราคาซื้อในนามของตนเอง เข้าประมูลร่วมกับผู้ประมูลรายอื่นอีก 3 รายโดยเสนอราคาที่ 11,520 ล้านบาทพร้อมวางหลักประกันเป็นเงิน 10 ล้านบาท โดยบริษัทจำเลยที่ 3 เป็นผู้เสนอราคาประมูลสูงสุด ปรส.จึงมีมติให้จำเลยที่ 3 ต้องทำสัญญาซื้อขายภายใน 7 วันนับจากวันที่ 20 สิงหาคม 2541 และต้องชำระเงินงวดแรก 20% ของราคาเสนอซื้อที่ชนะการประมูลเป็นเงิน 2,304 ล้านบาท แต่วันที่ 20 สิงหาคมเป็นวันครบกำหนดจำเลยที่ 3 กลับไม่เข้าทำสัญญาซื้อขายและไม่ชำระเงินงวดแรก ทั้งนี้ ศาลชั้นต้น มีคำพิพากษา(17ก.ย.55)ว่า จำเลยที่ 1-2 จึงมีความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2502 มาตรา 11 ส่วนการจัดเก็บภาษีนั้นเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐอื่น ซึ่ง ปรส.มีหน้าเพียงการซื้อขายสินทรัพย์ จึงยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยทั้งสองกระทำผิดในส่วนนี้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิเคราะห์แล้วจำเลยที่ 1-2 เป็นผู้บริหารสูงสุดของ ปรส. และต่อมาได้มีการชำระเงินเต็มจำนวนจากการประมูลสินทรัพย์ให้แก่ ปรส.จนครบถ้วนแล้ว จึงพิพากษาให้จำคุก จำเลยที่ 1-2 คนละ 2 ปี และปรับคนละ 2 หมื่นบาท ขณะที่ศาลเห็นสมควรให้โอกาสจำเลยทั้งสอง เคยทำคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ โทษจำคุกจึงให้รอการลงโทษไว้ 3 ปี และให้รายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติทุก 3 เดือนภายกำหนด 1 ปี พร้อมทั้งให้ทำกิจกรรมบริการสังคมตามสมควรอีก 24 ชั่วโมง ส่วนจำเลยที่ 3-6 ให้ให้ยกฟ้อง จากนั้นนายอมเรศ และนายวิชรัตน์ ยื่นอุทธรณ์ ซึ่งศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ยกฟ้องจำเลยทั้ง 2 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2557 โดยภายหลังอัยการโจทก์ ได้ยื่นฎีกาเฉพาะในส่วนของนายอมเรศ และนายวิชรัตน์ ว่า จำเลยทั้งสองมีความผิดตามที่ศาลชั้นต้นวินิจฉัย ขอให้พิพากษาลงโทษจำเลยตามความผิด ศาลฎีกาตรวจสำนวนประชุมปรึกษาหารือกันแล้ว จึงพิพากษากลับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ โดยให้บังคับตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ต่อเรื่องนี้ นายอมเรศ ศิลาอ่อน อดีตประธานปรส. กล่าวภายหลังฟังคำพิพากษาว่า ที่ผ่านมาตนทำงานเพื่อส่วนร่วมมาโดยตลอด ตั้งแต่สมัยเป็นรัฐมนตรีและปรส. หลังจากนี้จะบอกลูกหลานถ้าจะทำอะไรให้ส่วนรวมต้องคิดให้ดี เพราะทำให้ส่วนรวมแล้วถูกลงโทษจะคุ้มหรือไม่ ด้านนายมนตรี เจนวิทย์การ อดีตเลขาธิการปรส.กล่าวถึงกรณีที่ศาลฎีกาพิพากษายืนตามศาลชั้นต้น จากมูลเหตุกรณีการไม่เรียกเก็บเงินงวดแรกในการขายสินทรัพย์ให้กับบริษัทเลห์แมน บราเธอร์ส โฮลดิ้งส์อิงค์ฯ จำนวน 2,304 ล้านบาท ว่า ตามข้อเท็จจริง เงินดังกล่าวเป็นเงินที่ปรส.ได้รับชำระงวดแรก 20 % ( ตามเงื่อนไขในสัญญาจ่ายชำระค่าประมูลและงวดสุดท้ายอีก 30% แต่เจ้าหน้าที่ได้ลงในเอกสารผิด ระบุเป็น”ค่ามัดจำ” “หากตีความว่าเป็นค่ามัดจำจริง ก็ต้องหมายความว่า ปรส.ต้องจ่ายคืนในภายหลัง แต่ในข้อเท็จจริงกรณีนี้ปรส.เป็นฝ่ายรับจากการชำระค่าประมูลงวดแรก และเป็นฝ่ายได้เปรียบด้วยซ้ำ เพราะยังไม่มีการโอนสินทรัพย์ เราก็ได้เงินก้อนแรกมาแล้ว แต่กฎหมายกลับตีความโดยให้น้ำหนักเอกสารมากกว่าพยานบุคคลและตีความว่าความผิดสำเร็จแล้ว” อย่างไรก็ดี น้ำหนักที่ศาลฎีกาพิพากษา เชื่อว่าน่าจะเป็นประเด็นหลังมากกว่า กล่าวคือการที่ปรส.ประมูลขายให้บริษัทในเครือ “เลแมน บราเดอร์ส”คือ “บริษัท เลแมน บราเดอร์ส โฮลดิ้งส อิงค์” ทั้งที่เลแมนบราเดอร์ส์ ” เป็นที่ปรึกษาการเงินให้กับการประมูลครั้งนี้ จนตีความว่าอาจมีส่วนได้ส่วนเสีย ขณะที่การประมูลขายสินทรัพย์ของปรส.ยึดหลักแนวทางตามสากล เช่นเดียวกับนานาประเทศ เช่นการประมูลขายสินทรัพย์ในอินโดนีเซีย ที่ผู้ซื้อก็เป็นบริษัทในเครือของบริษัทที่เป็นที่ปรึกษาการประมูล เพราะในต่างประเทศ บริษัทส่วนใหญ่จะตั้งในรูป”บริษัทโฮลดิ้ง “บางบริษัทมีเครือเป็นร้อยๆแห่งด้วยซ้ำ “ปรส.ยืนยันว่าแม้จะเป็นบริษัทในเครือแต่เอกสารอยู่ในห้องประมูลที่ไม่มีใครล่วงรู้ได้ แม้แต่เลขาธิการปรส. และผู้ชนะประมูลในครั้งนั้นก็ยังเสนอราคาทิ้งห่างอันดับ 2 กว่า 2 พันล้านบาท ยิ่งเป็นการยืนยันชัดว่าไม่มีการฮั้วประมูลแน่นอน” จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3,187 วันที่ 28 – 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ว่าไป น่าสงสารคุณธารินทร์มาก ตอนนั้น ต้องหักดิบรับยาแรง จะว่าไป ผมว่า แกเด็ดขาดกว่า ด็อกเตอร์ซุป นะ ถ้าผมเป็น นายหัวชวน ผมก็เอาคุณธารินทร์ เสียดายว่าแก ไม่ใช่นักการเมืองอาชีพ ไม่งั้น คงได้โต้พวก ควาย หน้าเหลี่ยม มันไปแล้ว เสียดายครับ ที่ลงแรงหนัก กว่าจะแก้ปัญหาให้จบ เจอไอ้เหลี่ยมมาชุบมือเปิป เอาผลงานไปโพทนา อยู่ไม่ทันช่วงเก็บเกี่ยว ถ้า นายหัวชวน ยังอยู่ได้อีกสักปี สองปี รับรองว่า คนจะรู้ว่า ที่ยอมเจ็บปวดทีเดียวแล้วจบดีกว่าเป็นยังไง
ประวัติศาสตร์มักหมุนวนให้เราได้เรียนรู้ ยุคป๋าเปรม เราเด็ดขาดเจ็บน้อย แล้วเติบโตก้าวกระโดด พรรค ปชป ร่วมบริหาร เราเติบโตไม่อายใคร พอป๋าพอแล้ว เรายังมีเงินอู้ฟู่ หลังจากนั้นก็โดนถลุง โดยทีมการเมืองกลุ่มเดิมๆ เสียดาย ปชป ไม่ได้สานต่อแบบเต็มที่ มีแค่สมัยเดียวที่วางรากฐานไว้หลายเรื่อง แต่ไม่ได้สานต่อจนต้มยำกุ้ง และแล้ว ปชป ก็มาแก้ปัญหา เราเริ่มลืมตาอ้าปากได้ระดับนึง แล้วทีมการเมืองกลุ่มเดิมๆในชื่อใหม่ก็กลับมามีอำนาจ พอ ปชป มีอำนาจสมัยคุณอภิสิทธิ ปชป ก็มาแก้ปัญหาแฮมเบอร์เกอร์ กะการขาดดุลเดินสะพัด ทำให้เราได้รับผลกระทบน้อย พอเริ่มจะดำเนินการให้คนของเราลืมตาอ้าปากได้ ทีมการเมืองกลุ่มเดิมๆในชื่อใหม่ก็กลับมามีอำนาจ มีรอบหลังนี่แหละที่ ปชป ไม่ได้แก้ปัญหา แต่เป็น คสช เงินทองถูกถลุงไปกับนโยบายโง่ๆจำนำข้าว มันวนเวียนแบบนี้ สื่อสารมวลชน ประชาชน ก็ยังไม่ร่วมคิดสร้างสังคมให้เดินหน้าหลุดพ้นจากวังวนเดิม ปชป ก็มาแก้ปัญหาทีมการเมืองกลุ่มเดิมๆ ในชื่อใหม่ก็กลับมามีอำนาจ
สมัยก่อนภาพลักษณ์ ปชป คือฝ่ายค้านมืออาชีพ ทั้งๆที่เขาทำการเมือง ติติง อย่างถูกต้อง มีปัญหา เขาก็เข้ามาแก้ไขได้ลุล่วง พอมีเสียงชื่นชม ก็ตามมาด้วยภาพลักษณ์ คอนเซอร์เวทีฟ และ เชื่องช้าอืดอาด ทั้งสองภาพลักษณ์ สื่อสารมวลชนเอาไปเล่นกันหนัก ไม่เคย คิด วิเคราะห์ แยกแยะ เป็นส่วนสนับสนุนความล่มสลายของความเจริญประเทศชาติ
ผู้พิชิต สนามบิน005 คงคาดว่า ต้องเป็น รบ. ชวน ซินะ จริงๆน่าไปโทษคนที่ทำให้เกิดเหตุการล้มบนฟูกจะดีกว่า
จขกท.หายหัวตามระเบียบครับ ลูกจ้างพวกนี้มันก็แค่โพสท์เบิกเงินไปวันๆเท่านั้น เป็นความโง่ของนายจ้างเองที่เก็บลูกจ้างแบบนี้ไว้
ระวังโดนฟ้องเด้อ ศาลฎีกาพิพากษาล่าสุดไปแล้ว ว่าใครคือผู้รับผิดชอบคดี ปรส ออกจะเป็นข่าวใหญ่ ไม่ได้อ่านข่าวหรอ อ้อฎีกาศาลสุงสุดสุดท้ายแล้วเด้อ