ชื่อพื้นบ้าน บึ้ง . อีบึ้ง (มังกรดำแห่งลำเนา) ชื่อสามัญ Thai land black tarantura ชื่อวิทยาศาสตร์ Haplopelma minax วงศ์ Theraphosidae สกุล Haplopelma บึ้ง หรือ จัดเป็นแมงมุมที่มีขนาดใหญ่ อยู่ในประเทศไทยมี 4 ชนิด อยู่ใน ได้แก่ บึ้งลายหรือบึ้งม้าลาย บึ้งดำพม่า บึ้งน้ำเงิน และบึ้งดำ ซึ่งทั้งหมดเป็นสัตว์ห้ามการนำเข้าส่งออกในบัญชีว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่า และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) ซึ่งเป็นสัตว์ป่าที่อยู่ในบัญชีที่ 2 ของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) ลักษณะทางกายภาพ เป็นแมงมุมขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีแปดขา ลำตัวสีดำ เพศเมีย ขนาดตัวเต็มวัย อาจมีขนสีน้ำตาลดำปกคลุมส่วนท้อง ขนาดโดยทั่วไป ประมาณ 2.5 – 10 ซม. เคลื่อนตัวช้า ตามลำตัวและขามีขนปกคลุม บึ้งเพศผู้มีอายุเพียง 5 ปี ส่วนเพศเมีย บางชนิดอาจมีอายุถึง 10 ปี มีเขี้ยวคู่หน้าขนาดใหญ่สำหรับล่าเหยื่อ สามารถฉีดพิษใส่เหยื่อได้ พิษของบึ้ง อยู่ที่ขน และต่อมพิษบริเวณเขี้ยว สำหรับต่อมพิษบริเวณเขี้ยวนั้น บึ้งจะกัดและปล่อยพิษซึ่งเชื่อมต่อ กับต่อมพิษ (Poision gland) เพื่อการป้องกันตัวเมื่อถูกคุกคามจากศัตรู บึ้งบางชนิดมีเขี้ยวยาวถึง 1 นิ้ว แต่พิษของบึ้งมีเพียงเล็กน้อยแค่เพียงพอจะให้เหยื่อขนาดเล็ก เป็นอัมพาตเท่านั้น สำหรับผู้ที่แพ้พิษบึ้ง เมื่อถูกกัดอาจเกิดบาดแผลบวมแดง เหมือนถูกผึ้งต่อย แต่บางคนอาจเกิดอาการแพ้อย่างรุนแรง ทำให้กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ผู้ที่เป็นโรคหัวใจอาจช็อกได้ ภาพแสดง รังบึ้ง หรือ ฮู บึ้ง
ส.ว. ต้นกำเนิดมาจาก ส.ส. ประเภทที่สอง หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่ใช่เหรอ แล้วแยกตัวออกมา เปลี่ยนชื่อเป็น พฤฒสภา ในรัฐธรรมนูญฉบับปี 2489 ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อเป็นวุฒิสภา ในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ปี 2490 http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/download/article/article_20101124145822.pdf คนนะครับ ไม่ใช่อย่างอื่นที่งับข้อมูลมาแล้วรีบเชื่อเลย โดยเฉพาะเรื่องที่รวบรัดตัดตอน ท่อนแรกหาย เริ่มมาท่อนกลางเลย